เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมค้าปลีกไทยสมัยใหม่(Modern Trade) เพื่อความยั่งยืน, (วปอ.9846)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายธเรศน์ เจียรไพศาลเจริญ, (วปอ.9846)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมค้าปลีกไทยสมัยใหม่ (Modern Trade)
เพื่อความยั่งยืน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายธเรศน์ เจียรไพศาลเจริญ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
งานวิจัยเรื่อง“แนวทางการบริหารจัดการอุตสาหกรรมค้าปลีกไทยสมัยใหม่(Modern
Trade) จัดท าขึ้น เพื่อศึกษาและท าความเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคในแต่ละช่วงวัย (Generation)
โดยในงานวิจัยนี้จะแบ่งออกเป็น ๕ ช่วงวัยได้แก่ Baby Boomer, Generation X, Generation Y,
Generation Z, และ Generation Alpha โดยจะท าความเข้าใจถึงลักษณะพื้นฐาน และพฤติกรรมที่
มีต่ออุตสาหกรรมค้าปลีกสมัยใหม่ ทั้งในแง่ของการจับจ่ายใช้สอย การใช้เวลาเมื่อออกไปซื้อของ
ความรู้และความพร้อมเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ การให้ความส าคัญของการพัฒนารัฐวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อยควบคู่ไปกับการเติบโตของห้างค้าปลีกสมัยใหม่ ความสนใจเรื่องสิ่งแวดล้อม
ของแต่ละห้างค้าปลีก (Zero Carbon) รวมถึงการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในแง่ของความรู้
ความสามารถ ให้แข่งขันเทียบกับ บุคลลากรในอุตสาหกรรมเดียวกันจากที่ต่าง ๆ ทั่วโลกได้
ซึ่งเมื่อได้ท าความเข้าใจข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว งานวิจัยนี้จะต่อยอด
ผลลัพธ์ที่ได้เข้ากับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ ซึ่งเป็นแผนระดับที่ ๒ ใช้
ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ เพื่อสนับสนุนและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ซึ่งเป็นแผน
ระดับที่ ๑ ที่ใช้อยู่รหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ โดยผลจากการวิจัยนี้ได้วิเคราะห์การเกี่ยวข้องที่
น่าสนใจกับหมุดหมายจ านวน ๔ หมุดหมาย จากทั้งหมด ๑๓ หมุดหมาย ได้แก่ (๑) หมุดหมายที่ ๖
เพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน (๒) หมุดหมายที่ ๗ เพื่อให้ไทยมีวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อยที่เข้มแข็งมีศักยภาพสูงและแข่งขันได้ (๓) หมุดหมายที่ ๑๐ เพื่อให้ไทยมี
สังคมคาร์บอนต่ า และ (๔) หมุดหมายที่ ๑๒ เพื่อให้ไทยมีก าลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่องตอบโจทย์แห่งอนาคต ซึ่งงานวิจัยฉบับนี้จะลงรายละเอียดไปยังแต่ละกลยุทธ์ย่อยของทั้ง ๔
หมุดหมายดังกล่าว เพื่อหาค าตอบเบื้องต้นถึงลักษณะการสนับสนุน การต่อยอด ปัญหา อุปสรรค และ
โอกาสต่างๆเพื่อให้ข้อมูลที่สรุปได้เหล่านี้เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านในแง่ของการพัฒนาอุตสาหกรรมค้า
ปลีกไทยสมัยใหม่ และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในระยะเวลา ๕ ปี ข้างหน้านี้ข
abstract:
Title Guidelines for Managing Thai Modern Trade for Long-Term
Sustainability
Filed Economics
Name Mr. Tharade Chearapaisanjaroen Course NDC Class 65
This Research is "A Guidelines for Managing Thai Modern Trade for LongTerm Sustainability”, which is developed to study and understand the behavior of
consumers in each generation in terms of spending volume, shopping time,
development of small and medium enterprises along with the growth of modern
trade, environmental concerns (Zero Carbon), and Human resource development to
compete against competitors in modern trade industry around the world.
After we are having understood of all above information, this research
will build on with “13th National Economic and Social Development Plan” (2023 –
2027), which is 2nd level strategy to support “20 Years National Strategy Plan”, which
is 1st level strategy using to control all Thai government policy during 2018 - 2037.
The results are involved with 4 interesting pin points out of 13 key pin points, which
are (1) 6th Pin Point, supporting Thailand to be ASEAN digital hub, (2) 7th Pin Point,
supporting Thailand to have better competitive advantage in small and medium
enterprise (3) 10th Pin Point, supporting Thailand to be low carbon society (4) 14th Pin
Point, supporting Thailand to be a life-time learning society. At the end, this research
will find the preliminary conclusion and solution together with some interesting
examples for supporting all reader to develop Thai modern trade and related parties
in next 5 years.ค