เรื่อง: แนวทางการพัฒนาเชื้อเพลิงอากาศยานยั่งยืนเชิงพาณิชย์ ในอุตสาหกรรมการบิน เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศไทย, (วปอ.9843)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายธรรมรัตน์ ประยูรสุข, (วปอ.9843)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการพัฒนาเชื้อเพลิงอากาศยานยั่งยืนเชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรม
การบิน เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายธรรมรัตน์ ประยูรสุข หลักสูตร วปอ รุ่นที่65
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการน าเทคโนโลยีเชื้อเพลิงอากาศยานยั่งยืนส าหรับ
อุตสาหกรรมการบินมาปรับใช้ในประเทศไทยและตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและน าเสนอ
กรณีศึกษาเทคโนโลยีการผลิตและวัตถุดิบที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้เชื้อเพลิง
อากาศยานในประเทศไทย โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด าเนินการโดยการบูรณาการข้อมูล
ทั้งในส่วนของข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในภาคส่วนต่าง ๆ และข้อมูลทุติยภูมิจาก
การทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ องค์ความรู้ของผู้วิจัย รวมทั้งท าการวิเคราะห์ความคุ้มค่าเชิง
เศรษฐศาสตร์มหภาค และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
จากการศึกษาพบว่า ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาส าคัญ และ
ภาคอุตสาหกรรมการบินมีการจัดท าแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยการใช้เชื้อเพลิง
อากาศยานยั่งยืนเป็นแนวทางหลัก เนื่องจากสามารถใช้ทดแทนเชื้อเพลิงอากาศยานจากเชื้อเพลิง
ฟอสซิลได้ จากการมีคุณสมบัติใกล้เคียงกันโดยไม่ต้องมีการดัดแปลงเครื่องยนต์ของอากาศยาน
ซึ่งเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานยั่งยืนมีทั้งหมด 7 กระบวนการ ทั้งนี้มี 2 กระบวนการ
ได้แก่ กระบวนการสังเคราะห์พาราฟินเคโรซีน ด้วยแอลกอฮออล์ (ATJ-SPK) ที่ใช้เอทานอลเป็น
วัตถุดิบ และกระบวนการสังเคราะห์พาราฟินเคโรซีน ด้วย Hydroprocessed Esters and Fatty
Acid ที่ใช้น้ ามันดิบปาล์มเป็นวัตถุดิบ ที่เหมาะสมต่อการประยุกต์ใช้ในประเทศไทย
นอกจากนี้จากกรณีศึกษาพบว่าประเทศไทยมีความสามารถในการผลิตวัตถุดิบที่ใช้ใน
การผลิตน้ ามันอากาศยานยั่งยืนในปริมาณมาก โดยสามารถใช้อ้อย มันส าปะหลัง และปาล์มน้ ามัน
ซึ่งท าให้เกษตรกรมีรายได้ประมาณ 62,000 ล้านบาท 64,000 ล้านบาท และ 92,000 ล้านบาท
ตามล าดับ และยังสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสากรรมการบินของประเทศไทย
ได้ถึง 6.5 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี อีกทั้งยังตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติด้านการ
สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมข
abstract:
Title The Development of commercially sustainable aviation fuels
in the aviation industry to support Thailand's national strategy
Field Science and Technology
Name Mr.Thamarat Prayoonsuk Course NDC Class 65
The objectives of this research are to study the application of sustainable
aviation fuel (SAF) technology for the aviation industry in response to Thailand’s
national strategy, and present case studies on production technology and suitable raw
materials to meet the demand of jet fuel in Thailand. This research is a quality
approach by integrating both primary data from experts and secondary data from
literature reviews. As well as, it is conducting a macroeconomic analysis and impacts
on the environment and society.
The Climate change is an important issue and the aviation industry has
prepared guidelines to reduce greenhouse gas emissions (GHGs) by using of SAF as the
main approach. Because it can replace conventional jet fuel by having similar
properties without modification of aircraft engine. There are 7 processes technology
for SAF production. The suitable process in Thailand has 2 processes technology,
including of paraffin kerosene synthesis from alcohol (ATJ-SPK) by using ethanol, and
paraffin kerosene synthesis process with Hydroprocessed Esters and Fatty Acid (HEFA)
by using crude palm oil.
According to this research, Thailand has the ability to produce raw
materials in large quantities. Sugar cane, cassava and palm oil can be used, which can
have a farmer income of about 62,000 million baht, 64,000 million baht and 92,000
million baht, respectively. It can also help reduce GHGs from aviation industry up to
6. 5 million tons of carbon dioxide equivalent per year. Moreover, it also support to
Thailand’s national strategy mainly on eco-friendly development and growth.ค