เรื่อง: การพัฒนาชีววิทยาศาสตร์ของประเทศบนฐานความรู้และนวัตกรรม ด้วยการส่งเสริมการลงทุน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นเรศ ดำรงชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาชีววิทยาศาสตรของประเทศบนฐานความรูและนวัตกรรม
ดวยการสงเสริมการลงทุน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย ดร. นเรศ ดํารงชัย หลักสูตร วปอ. รุนที่๕๗
ปจจุบันนี้ เนื่องจากการมุงเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางรวดเร็ว ชีววิทยาศาสตรจึงเปน
ศาสตรที่มีความสําคัญตออนาคตของประเทศและสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาของ
เทคโนโลยีทั่วโลกก็ดําเนินไปโดยรวดเร็วเชนกัน แตการพัฒนาองคความรูใหเกิดเปนธุรกิจ
อุตสาหกรรมในประเทศยังมีอยูจํากัดเนื่องจากระบบนวัตกรรมของไทยยังไมไดเอื้อใหเกิด
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการนําองคความรูไปสูการสรางมูลคาใหกับประเทศ ทั้งที่มี
องคความรูที่มีคุณภาพอยูในมหาวิทยาลัยอยูเปนจํานวนไมนอย และประเทศไทยมีฐานทรัพยากร
ชีวภาพที่หลากหลาย
การวิจัยครั้งนี้มุงศึกษาวิเคราะหนโยบาย แผน กระบวนการ รูปแบบ และสภาพ
ขอเท็จจริงในการผลักดันนโยบายอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับชีววิทยาศาสตร ดวยการสงเสริมการ
ลงทุน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสงเสริมใหเกิดบริษัทรวมทุน หรือบริษัทเกิดใหมทางดาน
เทคโนโลยีชีวภาพ โดยเปรียบเทียบกับตางประเทศบางประเทศ
ผูวิจัยเสนอแนวทางการธุรกิจอุตสาหกรรมชีววิทยาศาสตร โดยวิเคราะหบทบาทและ
หนาที่ของผูเกี่ยวของ ผูมีสวนไดสวนเสียกับปญหาที่กลาวขางตนโดยการศึกษาทบทวนจากขอมูล
รวมทั้งสัมภาษณผูที่เกี่ยวของและมีบทบาทสําคัญ ทําใหไดขอสรุปและขอเสนอแนะที่เปนรูปธรรม
เพื่อปฏิรูปองคประกอบทุก ๆ มิติที่มีผลเกี่ยวของตั้งแตตนกระบวนการไปจนถึงปลายทาง และได
นําเสนอขอเสนอที่เปนรูปธรรมชัดเจนในสี่ดาน ไดแก ๑) การกําหนดนโยบายการวิจัยและพัฒนา
อุตสาหกรรมยาและชีววัตถุที่ชัดเจน ๒) การพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนยาใหรวดเร็วและเปน
มาตรฐานสากล ๓) การสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมยาและชีววัตถุเพื่อการสงออก และ
๔) สงเสริมเขตพื้นที่ Life Science Zone
ทั้งนี้ โดยไดระบุกรอบเวลาที่ควรดําเนินการในเรื่องนี้เสร็จสิ้น คือภายใน ๕ ป จากป
๒๕๕๙ ถึงป๒๕๖๓
abstract:
ABSTRACT
Title The Development of Life Sciences Industry in Thailand though Investment
Field Science and Technology
Name Dr. Nares Damrongchai Course NDC Class 57
With the rapid shift in demography of the Thai population towards ageing society,
life sciences is regarded as increasingly important for the future socioeconomic growth and
stability of the nation, in accordance with the recent trend observed in my other countries around
the world.
Nevertheless, the translation of this knowledge into the building of a workable new
industry has been stagnated due to the limitation in the innovation ecosystem. Those knowledge
that are generated in Thai universities and research laboratories, including the plentiful natural
resources have either not been successfully translated into new products and services, or
progressing at a very slow rate.
This research analyzed policies and plans that are relevant to life sciences, the
processes in which policies are being implemented, the execution of the policies into promoting
industries by means of investment. It especially look into the mechanisms of joint ventures and
biotech start-up companies.
The author have also analyzed the significant roles of stakeholders and related parties
through interviews and secondary data sources throughout the process of life science value chain
development. Base on the findings, the author have concluded and proposed four tangible
proposals for the government on how to better build a competitive life science industry through
investment: 1) Clear policy and increasing resource allocation for research and development
activities in pharmaceuticals and biologics, 2) improve and modernize the drug registration
system to comply with international standards, 3) investment promotion towards pharmaceuticals
and biologics for competitiveness, and 4) creation of a Life Science Zone. All these proposals
should be carried out in 5 years between 2016 and 2020.