Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการสร้างความมั่นคงทางด้านสาธารณสุขเพื่อจัดการกับโรคติดเชื้ออุบัติใหม่, (วปอ.9825)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รศ.นพ. ดิลก ภิยโยทัย, (วปอ.9825)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางในการสร ้ างความมนั่ คงทางสาธารณสุขเพื่อจดัการกบั โรคติด เช้ืออุบตัิใหม่ ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วจิัย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่65 การวิจยัน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิเคราะห์ภัยคุกคามทางด้านสาธารณสุขของ ประเทศไทย โดยเฉพาะโรคติดเช้ืออุบตัิใหม่ (2) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการบริ หาร จดัการด้านสาธารณสุขของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการจดัการโรคติดต่ออุบตัิใหม่ และ (3) กา หนดแนวทางในการสร้างความมนั่ คงทางสาธารณสุขเพื่อจดัการกบัโรคติดเช้ืออุบตัิใหม่โดยเก็บ รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์และการท าแบบสอบถามกบักลุ่มตวัอยา่ ง จา นวน 32คน รวมไปถึง การรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารต่าง ๆ และการศึกษาบริบทของการทา งานในระบบสาธารณสุขของ ประเทศไทยในการจดัการกบัโรคติดเช้ืออุบตัิใหม่โควดิ-19 ผลการวิจยัพบว่า กลุ่มตวัอย่าง มีระดบั ความพึงพอใจที่มีต่อระบบสาธารณสุขเพื่อ จัดการกับโรคติดเช้ืออุบัติใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน (1) การ ประสานงานระดบั ประเทศการวางแผนและการติดตาม (2)การสื่อสารความเสี่ยงและการมีส่วน ร่วมของชุมชน (3) การเฝ้าระวัง การสอบสวนโรคและการติดตามผู้สัมผัสผู้ป่ วย (4) ระบบ ห้องปฏิบตัิการของระบบสาธารณสุข (5) การป้องกนั และการควบคุมการติดเช้ือในชุมชนและ สถานพยาบาล(6)การจดัการทางคลินิก(7)ความต่อเนื่องของการบริการจา เป็นต่าง ๆ ในช่วงแพร่ ระบาดของเช้ือโรคและ (8) มาตรการการบริหารจดัการระบบสาธารณสุขประเทศในการแพร่ระ ระบาดโรคติดเช้ืออุบตัิใหม่ในระยะยาว พบวา่ ในแต่ละดา้นมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั สูง นอกจากน้ีกลุ่มตวัอย่างไดม้ีขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกบั ระบบสาธารณสุขไทยกบั การจัดการโรคติดเช้ืออุบตัิใหม่โดยให้มีการวางแผนการเพิ่มบุคลากรและอุปกรณ์การแพทย์ที่ จ าเป็ นเพื่อเตรียมรับมือในสถานการณ์ฉุกเฉิน การจดัสรรวคัซีนอยา่ งมีประสิทธิภาพและเขา้ถึงง่าย การจดัสรรงบประมาณดา้นสาธารณสุขอยา่ งเหมาะสม รวมถึงความร่วมมือระหวา่ งรัฐบาลองคก์ ร ทางการแพทย์ สถาบันวิชาการ และประชาชน เพื่อเป็ นแนวทางการพัฒนาระบบสาธารณสุขให้ มนั่ คงยงั่ ยืนและมีความพร้อมในการจดัการกบั ปัญหาโรคติดเช้ืออุบตัิใหม่ที่อาจจะเกิดข้ึนได้อีกใน อนาคตข

abstract:

Title Guidelines for building public health security to deal with emerging infectious diseases Field Strategic Name Associate Professor Dilok Piyayotai, MD Course NDC Class 65 The objectives of this research were (1) to study and analyze threats to public health in Thailand, especially emerging infectious diseases, (2) to study and analyze problems and obstacles in Thailand's public health concerning the management of emerging infectious diseases and (3) to set guidelines for building public health security to deal with emerging infectious diseases. The questionnaire survey and interview were used to collect information from 32 samples. We also collecteddata from relateddocuments and studiedthe experience of COVID￾19 management in Thailand public health system. The results of the study showed that the satisfactions in management of public health system were good. in term of (1) national level coordination, planning and monitoring (2) risk communication and community participation (3) disease surveillance, investigation and contact tracing (4) public health laboratory systems (5) infection prevention and control (6) clinical management; (7) continuity of essential services during an epidemic; and (8) measurement for the management of the national health system of the country. Furthermore, the samples gave suggestion to improve public health system such as have planning for adequate medical personnel’s and necessary medical equipment’s for emergency situation, efficient allocation of vaccine, appropriate budget allocation for public health and cooperation between government, medical organization and people in order to make public health system stable sustainable and ready to face with emerging infectious diseases in the future.ค