Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดในประเทศไทย : กรณีศึกษาแนวทางการพัฒนาความร่วมมือระหว่างตำรวจภูธรภาค ๔ กองทัพภาคที่ ๒ และภาคีเครือข่าย ในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาผู้ป่วยจิตเวชอันเนื่องมาจากการใช้ยาเสพติดก่อเหตุรุนแรงในชุมชน, (วปอ.9814)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี ณัฐนนท์ ประชุม, (วปอ.9814)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการแกไขปญหายาเสพติดในประเทศไทย : กรณีศึกษาแนวทางการ พัฒนาความรวมมือระหวางตํารวจภูธรภาค ๔ และภาคีเครือขาย ในการเฝา ระวังและแกไขปญหาผูปวยจิตเวชอันเนื่องมาจาก การใชยาเสพติดกอเหตุ รุนแรงในชุมชน ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลตํารวจรี ณัฐนนท ประชุม นักศึกษา วปอ. รุนที่ ๖๕ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) ศึกษาการดําเนินการของตํารวจภูธรภาค ๔ ในความ รวมมือกับภาคีเครือขาย ๒) ศึกษาสภาพปญหาและอุปสรรคในการเฝาระวังและแกไขปญหาผูปวยจิต เวชอันเนื่องมาจากการใชยาเสพติดกอเหตุรุนแรงในชุมชน และ ๓) เสนอแนะแนวทางการประสาน การปฏิบัติของหนวยงานที่เกี่ยวของ กลุมตัวอยางที่ใชในการ วิจัย คือ เจาหนาที่จากหนวยงานของรัฐ และภาคีเครือขายที่เกี่ยวของและผูปกครองหรือบุคคลในครอบครัวของผูปวยจิตเวช จํานวน ๒๐ คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณแบบเจาะลึก และการจัดสนทนากลุม วิเคราะหขอมูลเชิง คุณภาพโดยใชเทคนิคการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัย พบวา การดําเนินงานของตํารวจภูธรภาค ๔ ในความรวมมือกับภาคี เครือขาย มีความรวมมือแบบเปนทางการ (Formal Type) ตามบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือ (MOU) ซึ่งมีรูปแบบการบริหารจัดการบนแนวคิดการบริหารกิจการบานเมืองโดยเครือขาย (Network Governance) และแนวคิดการบริหารกิจการบานเมืองแบบรวมมือกันหลายภาคสวน (Collaborative Governance) ซึ่งสภาพปญหาและอุปสรรคในการเฝาระวังและแกไขปญหา ไดแก ๑) ความเขาใจนิยามผูปวยจิตเวช ที่มีภาวะอันตรายคลาดเคลื่อนกัน ๒) ตัวผูปวยครอบครัวและชุมชน ๓) รอยตอระหวางขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน ประกอบดวย รอยตอขั้นการนําสงและขั้นการบําบัดรักษา ไดแก ปญหาการหาสถานที่ นําสงผูปวยเขาควบคุม และบําบัดรักษาผูปวย ความไมพรอมของสถานที่ เจาหนาที่สาธารณสุข และ รอยตอขั้นการบําบัดรักษาและขั้นการจําหนาย ไดแก ปญหาการขาดสถานที่ เตียงผูปวยในโรงพยาบาล จิตเวชหรือโรงพยาบาลธัญญารักษ ที่ขาดงบประมาณและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานไมเพียงพอ และ ปญหาการไมมีสถานที่ฟนฟูสมรรถภาพรองรับผูปวยภายหลังจากที่ไดรับการบําบัดรักษาแลว แนวทางการประสานการปฏิบัติของหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูวิจัยเสนอ ๑) แนวคิดการ จัดตั้งจุดพักคอยหรือศูนย CI (Community Isolation) เพื่อเปนสถานที่รองรับผูปวยหลังจากการจับกุม หรือควบคุมและรอใหแพทยวินิจฉัยใหการรักษาหรือรอรับยาและเปนที่พักคอยระหวางรอเตียงวาง หรือรอทางโรงพยาบาลจิตเวชหรือโรงพยาบาลธัญญารักษเตรียมความพรอมการรักษา ๒) แนวคิดการ ดําเนินศูนย “มินิธัญญารักษ” ซึ่งมีลักษณะเปนการเพิ่มและกระจายการบริการดานการบําบัดรักษา ผูปวยจิตเวชไปยังโรงพยาบาลชุมชนซึ่งเปนการยกระดับการบริการใหผูปวยสามารถเขาถึงการบริการ ไดงายขึ้น และเปนการสรางความรวมมือใหคนในชุมชนดูแลตนเองซึ่งสามารถใชทดแทนศูนยฟนฟู สมรรถภาพผูปวยจิตเวชของกระทรวงมหาดไทย ข

abstract:

Title Principle for Solving Drug Problems in Thailand: A Case Study of Development Guidelines for Cooperation between Provincial Police Region 4 and Network Partners in Observing and Solving Problems of Psychiatric Patients Caused by the Use of Violent Drugs in the Community Field Military Name Pol. Maj. Gen. Natthanon Prachum Course NDC Class 65 The objectives of this research are 1) to study the operation of the Provincial Police Region 4 in cooperation with network partners in the surveillance and problem solving of caused by the use of violent drugs in the community, 2) to study the problems and obstacles in monitoring and solving the problems of psychiatric patients caused by the use of violent drugs in the community, 3) to provide guidances of the coordinates in the actions of relevant agencies in surveillance and correction of the psychiatric patients due to the use of drugs causing violence in the community. The sample group used in this research were officials from government agencies,relevant network partners,parents or family members of psychiatric patients, totaling 20 people. The research tools were in￾depth interviews and group discussions to analyzed qualidative data using content analysis techniques. The results of the research revealed that the operation of the Provincial Police Region 4 in cooperation with network partners is a formal type of cooperation,according to the Memorandum of Understanding on Cooperation (MOU), which has a management model based on the concept of The Network Governanceand and The Collaborative Governance. It can be clearly seen that problems and obstacles in monitoring and solving are: 1) misunderstanding in definitions of psychiatric patients with dangerous conditions 2) patients, families and communities 3) boundaries between operational procedures, consisting of traces to the delivery and treatment stages, i.e. the problem of finding a place to bring patients for controling and treating patients, unavailability of public health officer and the connection between the treatment stage and the distribution stage including the problem of lacking a place, beds for patients in psychiatric hospitals or Thanyarak ค hospital, lacking of budget and insufficient operational staff, and the problem of not having a rehabilitation facility to accommodate patients after receiving treatment. Guidelines for Coordinating Practices of Related Agencies, researcher proposes 1) The concept of establishing a waiting point or Community Isolation Center (CI) to receive patients after arrest or restraint and wait for the doctor to diagnose, treat, receive medication and waiting for an empty bed, or the psychiatric hospital either ot Thanyarak Hospital to prepare for treatment. 2) "Mini Thanyarak" project, which is characterized by increasing and distributing psychiatric treatment services to community hospitals, in according to raise the level of service for patients to access services more effortlessly, create cooperation for people in the community to take care of themselves, which can replace the Ministry of Interior's psychiatric rehabilitation center.ง