เรื่อง: แนวทางการบูรณาการการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี, (วปอ.9807)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี ฐายุฏฐ์ จันทร์ถาวร, (วปอ.9807)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2565
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
เรื่อง แนวทางการบูรณาการการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
ลักษณะวิชาสังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลต ารวจตรี ฐายุฎฐ์ จันทร์ถาวร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕
อาชญากรรมทางเทคโนโลยีเป็นภัยคุกคามในโลกยุคใหม่ที่อยู่ใกล้ตัวเราทุกคน
ส าหรับประเทศไทยมีการรายงานเหตุและความเสียหายที่เกิดจากอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
จ านวนมาก ส่งผลกระทบต่อสังคมเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ แต่ทว่า ภัยอาชญากรรม
ทางเทคโนโลยีมิได้เกิดขึ้นเพียงเพราะมีกลุ่มคนร้ายที่อาศัยโอกาสประทุษร้ายต่อเหยื่อตามทฤษฎี
สามเหลี่ยมอาชญากรรมเท่านั้น แต่เป็นเพราะโครงสร้างของรัฐและสังคม นโยบายและ เทคโนโลยี
ที่มีอยู่ในปัจจุบันยังมีช่องว่างมากมายที่เปิดโอกาสหรือเกื้อหนุนให้อาชญากรกระท าผิดได้โดยง่าย
บทความนี้น าเสนอภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่เกิดจากช่องโหว่เหล่านี้ซึ่งอยู่ภายใต้การก ากับดูแล
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากมาย ช่องโหว่เหล่านี้เกิดขึ้นจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ
พัฒนาการเพื่อความสะดวกสบาย เช่น การเปิดบัญชีธนาคารออนไลน์จ านวนมากได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว การโอนและจ่ายเงินผ่านระบบธนาคารออนไลน์ที่สะดวกรวดเร็ว จนหลายครั้งไม่สามารถ
พิสูจน์อัตลักษณ์และสถานที่ของผู้ใช้บัญชีได้จริง หรือ ความก้าวหน้าของภาคการเงินดิจิทัลและ
คริปโตเคอเรนซี่อันเป็นช่องทางในการฟอกเงินของอาชญากรออกนอกประเทศ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้
ไม่เพียงแต่สร้างความสะดวกสบายและการพัฒนาในหลายมิติ แต่ยังเป็นภัยคุกคามรูปแบบใหม่
ที่จะต้องปรับแก้โดยบูรณาการกันอย่างแท้จริง บทความนี้เสนอแนะข้อมูลและแนวทางเพื่อให้สังคม
และประเทศชาติมีกลไกที่เหมาะสม ประชาชนมีความตระหนักรู้ และประเทศไทย มีศักยภาพ
มีความทนทาน Resilience ต่อภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบที่จะมีเกิดขึ้นใหม่และเปลี่ยนแปลง
ไปโดยตลอด ข
abstract:
Title Guidelines for the integration of technological crime prevention
Field Social - Phychology
Name Pol.Gen.Maj. Thayut Chanthaworn Course NDC Class 65
Cybercrime is a contemporary threat attacking or coming close to all of
us. In Thailand, an exponential number of cybercrime or cyber threat incidents with
seriously financial damages have been reported. That affects our society, economy,
and even national security. However, the threat of cybercrime occurred not only
because the criminals can take advantage of the opportunity to attack the unaware
victims as described by criminology theories, such as Crime Opportunity or Routine
Activity Theory. But also, Thailand’s governmental and social structures, existing
policies and current technology provide some gaps or vulnerability that allow or
even facilitate the criminals to commit crime conveniently. This article, therefore,
provides an understanding of new threats posed by such vulnerabilities that are under
the supervision of many relevant authorities and agencies. These vulnerabilities are
accompanied with the advances in technology in public sectors or businesses, such
as the convenience of opening online bank accounts quickly and easily in a large
number without proper implementation of authentication and identity. That results
in inefficient process to prove the identity and location of the bank account user, and
money mules. In addition, the progress of the digital financial sector and cryptocurrencies,
which is a channel for money laundering, to transfer assets overseas. These vulnerabilities
not only create comfort and development in many dimensions, but also pose a new
type of threats that must be addressed through practical integration and cooperation.
By recognizing these difficulties, the society and the nation should have appropriate
mechanisms, public awareness, and resilience against all new kinds of challenges and
ever-changing threats.ค