Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดทำผังเมืองเฉพาะเพื่อการอนุรักษ์ โบราณสถาน กรณีศึกษา อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย, (วปอ.9783)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายเจษฎา ชีวะวิชวาลกุล, (วปอ.9783)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง แนวทางการจัดท าผังเมืองเฉพาะเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน กรณีศึกษา อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย นายเจษฎา ชีวะวิชวาลกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๕ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้จัดท าเพื่อ ๑. ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค การใช้พื้นที่โดยรอบโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ๒. เพื่อศึกษาวิจัยหลักการและ แนวทางและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผังเมืองเฉพาะและการจัดท าผังเมืองเฉพาะ ๓. เพื่อศึกษาและ เสนอแนวทางในการจัดท าผังเมืองเฉพาะเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน ขอบเขตงานวิจัย ๑. ขอบเขต ด้านเนื้อหา การวิจัยนี้เป็นการศึกษาด้านแนวทางการจัดท าผังเมืองเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา ๒. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรในการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยผู้ก าหนดนโยบายด้านผังเมืองซึ่งเป็นผู้บริหารและผู้ปฏิบัตินโยบายด้านผังเมืองของกรมโยธาธิการ และผังเมือง ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติด้านการอนุรักษ์โบราณสถานของกรมศิลปากรเจ้าหน้าที่ และประชาชนในท้องถิ่น ๓. ขอบเขตด้านการวิจัยเชิงพื้นที่ขอบเขตที่ศึกษา คือ พื้นที่อุทยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย พื้นที่ที่มีโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนมรดกโลก วิธีการด าเนินการวิจัย ๑. การศึกษาภาคสนาม การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้เกี่ยวข้องกับกลุ่มต่างๆ กลุ่มประชาชน ในท้องถิ่น กลุ่มเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น กลุ่มเจ้าหน้าที่กรมศิลปากร กลุ่มเจ้าหน้าที่กรม โยธาธิการ และผังเมือง ๒. การศึกษาเอกสารทางด้านกฎหมายพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติผังเมือง และเอกสารที่เกี่ยวข้อง จากประเด็นปัญหาข้างต้นน าไปสู่ความเห็นควรจัดท าผังเมืองเฉพาะอุทยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย เพื่อการฟื้นฟูบูรณะแหล่งประวัติศาสตร์และโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย ให้เกิดการจัดการเพื่อใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีการทับซ้อนกันของพื้นที่ชุมชนบ้านเรือนของราษฎร กับอุทยานประวัติศาสตร์ และภูมิทัศน์สภาพแวดล้อมโดยรอบการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งอ านวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้การพัฒนาเมืองและการอนุรักษ์โบราณสถาน ด าเนินการได้อย่างสอดคล้องกันอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกันข

abstract:

Title Guidelines for the preparation of a specific plan for conservation Ancient site case study historical park Sukhothai Field Social – Psychology Name Mr. Jeadsada Chevavichavankul Course NDC Class 65 To study and propose guidelines for the preparation of a specific urban planning for the preservation of ancient sites. scope of research 1. Scope of contents this research is a study of urban planning guidelines for the conservation of ancient sites as a guideline for solving problems. 2. scope of population, Population for collecting data by urban planning policy makers who are the management and urban planning policy practitioners of the Department of Public Works and Town & Country Planning. Administrators and practitioners of the conservation of ancient monuments of the Fine Arts Department, officials and local people. 3. scope of Area research the scope of study is Sukhothai Historical Park areas with historic sites registered as World Heritage Sites. Method of conducting research 1. Field study Interviews with those directly related to those involved in various groups. local population local officials group Fine Arts Department staff group Department of Public Works and Town & Country Planning staff group. 2. Document study In terms of law, the Ancient Monuments Act, Antiques, Objects of Art and the National Museum Act, 1992, the Town Planning Act. and related documents. From the above issues led to the opinion that a town plan should be developed specifically for the Sukhothai Historical Park for the restoration of historical sites and historical sites in Sukhothai Historical Park to create land utilization management that overlaps the areas of the people's homes with the historical park. And the surrounding landscape, the development of infrastructure and tourism facilities so that urban development and historic preservation can be carried out in a coherent, efficient wayค