เรื่อง: การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบโดยกระบวนการขององค์กรการเงินชุมชน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ดร. ธัชพล กาญจนกูล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ โดยกระบวนการขององค์กรการเงินชุมชน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย ดร.ธัชพล กาญจนกูล หลักสูตร วปอ.รุ่นที่57
การวิจัยเรื่องการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ โดยกระบวนการขององค์กรการเงินชุมชนมี
วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการและวิธีด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบของ
องค์กรการเงินชุมชน เพื่อก าหนดเป็นรูปแบบ (Model) ที่เหมาะสม รวมถึงมีข้อเสนอแนะแนวทางใน
การสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบอย่างยั่งยืน ขอบเขตและ
วิธีการวิจัย ได้ท าการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น กลุ่มกองทุนหมู่บ้านฯ สถาบันการเงินชุมชน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งเป็นกลุ่มต้นแบบในความดูแลของธนาคารออมสินจ านวน 100 แห่ง
จาก 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ โดยใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้างจ านวน 2 ชุด ชุดแรกสอบถามคณะ
กรรมการบริหารกลุ่ม ชุดที่ 2 สอบถามสมาชิกที่ได้รับการแก้ไขหนี้ รวบรวมสรุปผลการเก็บข้อมูลแล้ว
สรุปผลการศึกษาวิจัย และข้อเสนอแนะ โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการรูปแบบ Focus Group มี
ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยตัวแทนผู้น าองค์กรการเงินชุมชนจาก 4 ภูมิภาค ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้ที่
เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) และหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง น าเสนอผลการวิจัยในที่ประชุมเพื่อ
วิเคราะห์ วิพากษ์ ระดมความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ เพื่อก าหนดแนวทาง หรือ รูปแบบ (Model)
และแนวทางยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการสนับสนุนขีดความสามารถขององค์กรการเงินชุมชน ให้เกิด
กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการได้สัมฤทธิ์ผล และเกิดความยั่งยืน ผลการวิจัยพบว่าสาเหตุ
หลักเกิดจากปัญหารายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายของบุคคลเป็นปัจจัยส าคัญ ประเทศไทยมีช่องทาง
การให้บริการทางการเงินจ านวนมาก ข้อจ ากัดในการเข้าถึงบริการทางการเงินจึงไม่ใช่ปัญหาหลักที่
ส่งผลให้เกิดปัญหาหนี้นอกระบบ ปัจจัยความส าเร็จในการท างานขององค์กรการเงินชุมชนในการ
แก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ ได้แก่ บุคลากร เงินทุน องค์ความรู้ในการแก้ไขหนี้ เครื่องมืออุปกรณ์ที่
ทันสมัยองค์ความรู้ในการบริหารจัดการการเงินภาคครัวเรือน และก าลังใจในการท างาน รูปแบบ
กระบวนการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบโดยกระบวนการขององค์กรการเงินชุมชน ผู้ที่มีปัญหาต้อง
เข้ามาเป็นสมาชิกองค์กรการเงินชุมชนก่อน เพื่อเข้าสู่กระบวนการพัฒนาชีวิตและวินัยทางการเงิน
วิธีการช่วยแก้ปัญหาโดยวิธีให้ค าปรึกษาก่อนเป็นอันดับแรก แล้วให้เงินกู้เพื่อไปช าระหนี้นอกระบบ
ล าดับขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบมี 12 ขั้นตอน โดยต้องมีการติดตามผล และ วิธีการ
แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนที่ส าคัญคือ สร้างวินัยให้มีการออมเงิน โดยการสมัครใจ และโดยการบังคับออม
องค์กรการเงินชุมชนมีการด าเนินงานทั้งธุรกรรมการออมและการให้กู้ยืม แสดงถึงการตื่นตัวในการ
บริหารจัดการชุมชนได้ดีในระดับหนึ่ง กระบวนการแก้ปัญหาในปัจจุบันได้อาศัยกระบวนการผ่าน
ธนาคารภาครัฐและองค์กรการเงินชุมชน บทบาทขององค์กรการเงินชุมชนมีความส าคัญเป็นที่พึ่งพิง
ของระบบเศรษฐกิจฐานราก แต่มีข้อจ ากัดด้านเงินทุนขององค์กรการเงินชุมชนซึ่งสามารถแก้ไขปัญหา
กหนี้นอกระบบได้ในระดับหนึ่ง พอเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ หรือภัยทางธรรมชาติ ก็จะมีกลับไปเป็นหนี้นอก
ระบบอีก เพราะรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่ายในความไม่ยั่งยืนดังกล่าว หากไม่แก้ปัญหาความยากจนซึ่ง
เป็นเรื่องใหญ่ ปัญหาการเป็นหนี้นอกระบบก็จะยังคงมีอยู่ และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นจึงน าเสนอตัวแบบ
(Model) ในการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบอย่างยั่งยืน และมีความเป็นไปได้มากที่สุดในปัจจุบัน โดยมี
หลักคิดว่าเราเชื่อมั่นในชุมชุมว่าจะสามารถจัดการปัญหาได้ดีที่สุดเพราะชุมชนย่อมจะรู้ปัญหาของ
ชุมชนดี ภาครัฐเป็นเพียงผู้ให้การสนับสนุน อย่างไรก็ตามรูปแบบ (Model) ดังกล่าวจะส าเร็จไม่ได้หาก
แนวทางอื่นๆ ไม่ได้รับการแก้ไขให้สอดประสานกัน เพราะปัญหาหลักคือความยากจนไม่ได้รับการ
แก้ไข ดังนั้นการสร้างศักยภาพให้กับประชาชนฐานรากจึงมีความจ าเป็น เชื่อมโยงกับการพัฒนาช่อง
ทางการบริการทางเงินให้เข้มแข็ง มีมาตรฐาน แล้วเพิ่มทุนและยกระดับให้เป็นสถาบันการเงินชุมชน
เพื่อเศรษฐกิจฐานราก ต้องมีหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบเศรษฐกิจฐานรากเป็นเจ้าภาพหลักในการ
ส่งเสริม พัฒนา และช่วยแก้ไขปัญหา ขณะที่เศรษฐกิจภาพใหญ่ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมที่ส าคัญ
จ าเป็นต้องปรับโครงสร้างเศรษฐกิจลดประชากร/แรงงาน ผู้รับจ้าง และผู้พึ่งพิงภาคการเกษตร
ให้เคลื่อนย้ายไปยังภาคเศรษฐกิจอื่นที่มีศักยภาพ โดยมีข้อเสนอแนะแผนการพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังนี้
1. พัฒนาศักยภาพสมาชิก 2. สนับสนุนองค์กรการเงินชุมชมให้ได้มาตรฐาน 3. จัดตั้งหน่วยงานดูแล
เศรษฐกิจฐานรากทั้งระบบ 4. ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจประเทศ
ข
abstract:
11
ABSTRACT
Title Informal Debt Management by the Procedure of
Community Financial Organization
Field Economics
Name Dr.Tachaphol Kanjanakul Course NDC Class 57
Research on Informal Debt Management by the Procedure of
Community Financial Organization is aimed at studying and analyzing the process and
method of informal debt management of Community Financial Organization to set up
an appropriate Model and to provide advice on increasing capability for sustainable
informal debt management. Scope and method of this research includes studying of
100 representative samples group information namely: Village Fund; Community
Financial Institution; Savings Group for Productivity which are prototype groups in
responsibility of Government Savings Bank in four regions nationwide. Two sets of
questionnaire are used as tool for data gathering and data collection: the first set is
used for executive committee of prototype group; and the second set is used for
members in groups who join informal debt management. Data gathering, data
collection, research summary and advice have been made during the Focus Group
Workshop participated by representatives from Community Financial Organization in
four regions, experts/connoisseurship and related parties in order to present the
result of the research. The analysis, discussion, brainstorming, giving advice from the
research result also include in the workshop to set up the Model and the appropriate
strategy to support the capability of Community Financial Organization for integration
solution effectiveness. The result of this research found that the main reason
caused by inadequate income for individual expenses and that was the significant
factor. In Thailand, there are various financial services channels; the limitation to
access to finance therefore was not the main reason caused informal debt. Success
factors of Community Financial Organization in informal debt management
consisted of personnel, capital, debt management knowledge, modern equipment,
household management knowledge, and working spirit. The informal debt
management by the process of Community Financial Organization was formed
of those who have informal debt problem firstly applied as members of Community
Financial Organization to be in the process of life development and financial 12
discipline. Giving advice was the first solution, and proving loan to pay for informal
debt respectively. There were 12 steps in informal debt management including the
follow up process and sustainable solution that was instilling the savings discipline by
both compulsory savings and by willingness. Community Financial Organization
operated its savings and loans business that showed the awakening in community
management to a certain extent. At present, the procedure of solution has been
made through Public banks and Community Financial Organization which plays an
important role as a supporter of grassroots economy system, however, the capital
limitation of Community Financial Organization enables to solve informal debt to
some extent. When crisis or natural disaster arise, informal debts return to life cycle
as income is not adequate for expense. If the poverty has not been solved, informal
debt problem still remains and tends to increase all the times; therefore, there is a
recommendation of Model for nowadays sustainable and possible informal debt
management. The principle is to be confident in community that can do it best in
solution as the community knows its problems well and the private sector is only the
supporter. The Model will not be accomplished if other problems have not been
solved in conformity especially the poverty that is the main reason. The
strengthening ability of grassroots people is necessary in line with the development
of financial services channels to be standard and potency, and increasing capital to
lift up as Community Financial Institution. The public sector must take responsible
for grassroots economy to promote, develop, and provide solution while the
important surrounding as overall economic needs to be adjusted on economic
structure, population/labor and worker decrease and agricultural dependent and
moved to other capable economic sector. The recommendation for sustainable
development includes 1) Member Capability Development 2) Support of Standard
Community Financial Institution 3) Setting up Work Unit to Oversee Grassroots
Economy 4) Adjustment of National Economic Structure.