Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: พิธีการศุลกากรไร้รอยต่อเพื่อส่งเสริมการนำเข้าและส่งออกข้ามพรมแดน, (วปอ.9766)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางกิจจาลักษณ์ ศรีนุชศาสตร์, (วปอ.9766)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2565
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

เรื่อง พิธีการศุลกากรไร้รอยต่อเพื่อส่งเสริมการน าเข้าและส่งออกข้ามพรมแดน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นางกิจจาลักษณ์ศรีนุชศาสตร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 65 งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ประกอบด้วย 1. เพื่อศึกษาปัญหาและ อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร ณ พื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone 3) เขต ปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิภายหลังการปรับปรุงกระบวนงาน และ 2. เพื่อเสนอแนะแนว ทางการปฏิบัติพิธีการศุลกากร ณ พื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone) 3. เขตปลอดอากร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิภายหลังการปรับปรุงกระบวนงานเพื่อส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ข้ามพรมแดน โดยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากประกาศกรมศุลกากร ที่ 115/2564 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 กรอบ แนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ระยะ 20 ปี แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของ ประเทศไทย พ.ศ.2566 - 2570 และแนวคิดเกี่ยวกับการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ และ เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ จ านวน 5 คน และเจ้าหน้าที่ศุลกากร จ านวน 5 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากเนื้อหาของบทสัมภาษณ์ และข้อมูล ที่ได้จากการศึกษาเอกสาร โดยน าเสนอข้อมูลผ่านการบรรยายด้วยถ้อยค าที่เป็นภาษาและการ ถ่ายทอดของผู้วิจัย ผลจากการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร ณ พื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone 3) เขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิภายหลังการ ปรับปรุงกระบวนงานมีอยู่ด้วยกัน 5 ประเด็น ได้แก่ 1. การขาดกรอบทางกฎหมายที่อนุญาตให้น า ของจากเขตปลอดอากรที่อยู่ภายในประเทศเข้าไปในพื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone 3) ส านักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ2. ต้นทุนอันเกิดจากข้อก าหนดในการบรรจุ ของน าเข้า และของผ่านแดนรวมในคอนเทนเนอร์หรือยานพาหนะแบบปิดเดียวกัน 3. ต้นทุนอันเกิด จากการปฏิบัติพิธีการศุลกากรส่งของออกจากพื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone 3) ไปยัง ต่างประเทศทางอากาศยาน 4. ข้อจ ากัดในการปฏิบัติพิธีการศุลกากรเคลื่อนย้ายของระหว่างพื้นที่ ส าหรับเพิ่มมูลค่าสินค้า (Zone 2) และพื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone 3) และ 5) การปฏิบัติ พิธีการศุลกากรโดยยังคงใช้กระดาษเป็นหลัก และแนวทางการปฏิบัติพิธีการศุลกากร ณ พื้นที่ส าหรับ การกระจายสินค้า (Zone 3) เขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิภายหลังการปรับปรุง กระบวนงานเพื่อส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน มี5 ประเด็น ได้แก่ 1. การอนุญาต ให้น าของจากเขตปลอดอากรที่อยู่ภายในประเทศเข้าไปในพื้นที่ส าหรับการกระจายสินค้า (Zone 3) 2. การควบคุมการบรรจุของน าเข้า และของผ่านแดนรวมในคอนเทนเนอร์หรือยานพาหนะแบบปิด เดียวกันด้วยวิธีการอย่างง่าย 3. การปฏิบัติพิธีการศุลกากรส่งของออกจากพื้นที่ส าหรับการกระจาย สินค้า (Zone 3) ไปยังอากาศยานที่จะเดินทางไปต่างประเทศโดยตรง 4. การปฏิบัติพิธีการศุลกากร เคลื่อนย้ายของระหว่างพื้นที่ต่าง ๆ ภายในเขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิอย่างเสรีและ 5. การน าระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบที่ทันสมัยอื่น ๆ มาใช้ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากรส าหรับ การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบข

abstract:

Title Seamless Customs Procedures to Enhance Cross-border Imports and Exports Field Economics Name Miss. Kitjaluck Srinuchsart Course NDC Class 65 This research has the following objectives : 1. to study the problems and obstacles arising in Customs procedures at the distribution area (Zone 3) in the Free Zone at Suvarnabhumi Airport after the improvement of the procedures; 2. to propose guidelines for Customs procedures at the distribution area (Zone 3) in the Free Zone at Suvarnabhumi Airport after the improvement of procedures to promote cross-border e-commerce. This is qualitative research that collects secondary data from the Customs Department's Notification No. 115/2564, the 20-year National Strategy, the 13th National Economic and Social Development Plan, the 20-year Logistics System Development Framework, Action Plan for Development of Thailand's Logistics System 2023-2027; and collects primary data from interviews with 5 multimodal transport operators and 5 Customs officials. This research analyzes the content of the interviews and the information obtained from the study of documents before presenting the data through the researcher's verbal narration and conveyance. The results of the research found that problems and obstacles arising in Customs procedures at the distribution area (Zone 3) in the Free Zone at Suvarnabhumi Airport after the improvement of the procedures are altogether 5 issues: 1. the lack of a legal framework that allows the import of goods from the free zone within the country into the distribution area (Zone 3) of Suvarnabhumi Airport Cargo Customs Customs Office; 2. costs arising from import packing requirements and consolidated transit goods in the same enclosed container or vehicle; 3. costs arising from Customs procedures for exporting goods from the distribution area (Zone 3) to foreign countries by air; 4. limitation on Customs procedures for movement of goods between the value-added area (Zone 2) and the distribution zone (Zone 3); and 5. paper￾based Customs procedures. Additionally, this research also found that there were 5 ways for Customs procedures at the distribution area (Zone 3) in the Free Zone at Suvarnabhumi Airport after the improvement of procedures to promote cross-border e-commerce, which are: 1. permission to bring goods from the free zone within the country into the distribution area (Zone 3); 2. controlling the packing of imported and transit goods consolidated into one enclosed container or vehicle in a simple way; ค 3. Customs procedures for goods exported from the distribution area (Zone 3) directly to aircraft traveling abroad; 4. Customs procedures for free movement of goods between areas within the free zone of Suvarnabhumi Airport; and 5. implementation of electronic or other advanced systems in customs procedures for multimodal transport.ง