Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนากระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยีในงานอุตสาหกรรมป้องกันประเทศด้วยเทคโนโลยี ความเป็นจริงเสริม (AR : Augmented Reality, (วปอ.9207)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท คมสัน ศรียานนท์, (วปอ.9207)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางในการพัฒนากระบวนการถายทอดเทคโนโลยีในงานอุตสาหกรรม ปองกันประเทศดวยเทคโนโลยีความเปนจริงเสริม (AR : Augmented Reality) ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผูวิจัย พลโท คมสัน ศรียานนท หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๓ อุตสาหกรรมปองกันประเทศของไทย จัดอยูในกลุมประเทศที่มีอุตสาหกรรมปองกัน ประเทศครบวงจร แตยังไมสามารถพัฒนาองคความรูตอยอดไดถึงระดับสูงสุดดวยขอจำกัดบางประการ จึงทำใหตองตระหนักความสำคัญและความจำเปนของการสรางระบบอุตสาหกรรมปองกันประเทศ แบบพึ่งพาตนเอง ซึ่งการถายทอดเทคโนโลยีในงานอุตสาหกรรมปองกันประเทศถือเปนปจจัยหลัก ในการพัฒนาระบบดังกลาว แตยังมีปญหาและอุปสรรคในการเขาถึงเทคโนโลยีที่มีอยางจำกัด และ การเกิดวิกฤติการณที่ทำใหการถายทอดเทคโนโลยีแบบปฏิสัมพันธกันไมสามารถดำเนินการได งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคของการถายทอดเทคโนโลยี การผลิตยุทโธปกรณในอุตสาหกรรมปองกันประเทศ, ศึกษาแนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยี ความเปนจริงเสริม ในการจำลองการฝกปฏิบัติงานของเครื่องจักรกลบนแท็บเล็ตพีซีเสมือนการฝก ปฏิบัติบนเครื่องจริง และการพัฒนาตนแบบชุดอุปกรณการฝกปฏิบัติงานของเครื่องจักรกลตนแบบ ดวยเทคโนโลยีความเปนจริงเสริมสำหรับทดลองใชงาน โดยไดทำการศึกษาทฤษฎีและการออกแบบ และการพัฒนาตนแบบชุดอุปกรณสื่อการเรียนรูในการปฏิบัติงานสำหรับเครื่องขัดผิวภายในลำกลอง เครื่องยิงลูกระเบิด ยี่หอ SIG รุน HKP-200/7 ดวยเทคโนโลยีความเปนจริงเสริม เพื่อทดสอบประสิทธิภาพ ของสื่อการเรียนรูในการปฏิบัติงาน ซึ่งมีผลการประเมินในคุณภาพดานเนื้อหาและคุณภาพดานสื่อ จากผูเชี่ยวชาญอยูในระดับดีมาก สามารถนำไปจัดทำตนแบบสื่อการเรียนรูเพื่อทดลองใชงาน และ มีผลการประเมินประสิทธิภาพทางการเรียนรูของกลุมตัวอยางผูเขารับการอบรมดวยรูปแบบปกติ รวมกับตนแบบชุดอุปกรณที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น ดีกวากลุมผูเขารับการอบรมดวยรูปแบบปกติและศึกษา เพิ่มเติมดวยตนเอง ในการทดสอบที่ระดับความเชื่อมั่น ๙๕% ภายหลังเสร็จสิ้นการถายทอด เทคโนโลยีแลว และผูใชงานมีความพึงพอใจตอตนแบบชุดอุปกรณอยูในระดับดีถึงดีมาก ซึ่งจะเปน แนวทางที่จะนำเทคโนโลยีความเปนจริงเสริมไปประยุกตใชในการพัฒนาสื่อการเรียนรูสำหรับ กระบวนการถายทอดเทคโนโลยีในงานอุตสาหกรรมปองกันประเทศในดานอื่นๆ ไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะสำหรับแนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยีความเปนจริงเสริมในการพัฒนา กระบวนการถายทอดเทคโนโลยีในงานอุตสาหกรรมปองกันประเทศ คือ การวางนโยบายในการกำหนด แนวทางพัฒนากระบวนการถายทอดเทคโนโลยีในงานดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศ ดวยเทคโนโลยี ความเปนจริงเสริม ในภาพรวมของกลุมงานอุตสาหกรรมปองกันประเทศแตละประเภทแบบบูรณาการ และการสงเสริมอยางเปนรูปธรรม ตลอดจนในภาคปฏิบัติการองคกรควรมีการสงเสริมสนับสนุน การใชงาน การประเมินและรวบรวมผลตอบรับในการใชสื่อการเรียนรูที่พัฒนาดวยเทคโนโลยีข ความเปนจริงเสริมในกระบวนการถายทอดเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น รวมไปถึงการปรับสมดุลระหวางเนื้อหาขององคความรูที่และรูปแบบความนาสนใจของสื่อ การเรียนรู

abstract:

Abstract Title An approach to Develop for Technology Transfer Processing in Defence Industry with Augmented Reality Field Science and Technology Name Lt.Gen.Komson Sriyanon Course NDC Class 63 Thailand’s defence industry was classified into “Second Tier” group which has complete range of service but could not develop knowledge to top level with some restrictions. As a result, It’s necessary to realize the self-reliance in defence industry system that the main factor in system development is technology transfer in defence industry but there has problem with the limited access in technology and the effect of crisis which could not process interactive technology transfer. The purpose of this research is to study the problems and obstacles of technology transfer in defence industry weapon production, to study an approach to implement augmented reality in simulation training of machine on tablet and to develop the prototype of simulation training of machine with augmented reality for trail test.The research started from theoretical studies and design, then developed the prototype of instructional media for simulation training of SIG-HKP-200/7 mortar honing machine with augmented reality on the second step. The third step was to test and evaluate the quality of instructional media in simulation training which was very good level of evaluation by experts that the prototype of instructional media could apply to trial test. The result in the last step finding, the score in academic achievement of sample of trainees who participated in regular training and prototype of instructional media with augmented reality were significantly higher than sample of trainees who participated in regular training and self-directed learning at 95% level of significance; and the level of sample of trainee’s satisfaction with the prototype of instructional media at the highest level. At the result, there is an approach to applied augmented reality to develop instructional media for others technology transfer processing in defence industry. Recommendations for an approach to applied augmented reality to develop instructional media for technology transfer processing in defence industry are, physical supporting and defining policy formulation for an approach to develop technology transfer processing in defence industry with augmented reality by integration of each defence industry group. In practical recommendation, organization should support for using, evaluating and collecting feedback to improve efficiency of instructionalง media for technology transfer with augment reality; including to balance between content and attractiveness of knowledge.