Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ (English Program) ด้วยระบบออนไลน์, (วปอ.9205)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย คมกฤช จันทร์ขจร, (วปอ.9205)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ดวยระบบออนไลน ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายคมกฤช จันทรขจร หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63 แนวทางการจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ดวยระบบออนไลน เปนทางเลือกใหมของประชาชน ที่อยูนอกระบบโรงเรียน ที่สอดรับกับวัตถุประสงคของการปฏิรูปการศึกษา ขอ 2) เรื่องความลดความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษา การสรางความเสมอภาคทางการศึกษา ขอ (2.1) โอกาสในการเขาถึง การศึกษาและเทคโนโลยีที่สนับสนุน การเรียนรู และขอ (2.2) โอกาสในการไดรับทางเลือก ในการศึกษาและการเรียนรูพัฒนาที่เหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน “ผูวิจัย” จึงไดนำ กระบวนการวิจัย มาศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ดวยระบบออนไลนมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาองคประกอบ และศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ดวยระบบออนไลนโดยมีขอบเขตของการวิจัยดานเนื้อหา เนนการศึกษา องคประกอบและแนวทางการจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ดวยระบบออนไลน ขอบเขตดานประชากร คือ ผูเชี่ยวชาญ/อาจารยที่มีความเชี่ยวชาญดานการศึกษาทางไกล และเทคโนโลยีทางการศึกษา จำนวน 7 คน และ 21 คน เปนวิจัยเชิงคุณภาพ รวมกับใชการวิจัยเชิงพรรณนา ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. องคประกอบของการจัดการศึกษาทางไกล ดวยระบบออนไลน พบวา มี 7 องคประกอบ คือ องคประกอบที่ 1 ครูการศึกษาทางไกลออนไลน องคประกอบที่ 2 ผูเรียนทางไกลออนไลน3 แหลง เรียนรูออนไลนองคประกอบที่ 4 กิจกรรมพัฒนาตนเอง องคประกอบที่ 5 ดานการวัดผลและ ประเมินผล องคประกอบที่ 6 การสอนเสริมออนไลน และองคประกอบที่ 7 การใหคำปรึกษา ออนไลน 2. แนวทางการจัดการศึกษาทางไกล ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ดวยระบบออนไลน เปนการจัดการศึกษาที่ตอบโจทยรูปแบบการจัด การศึกษาภายใตยุทธศาสตร 20 ป ซึ่งตองมีการปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม โดยการพัฒนาระบบ การเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ที่มุงเนนผูเรียนใหมีทักษะการเรียนรูและ มีใจใฝเรียนรูตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม การเปลี่ยนแปลงบทบาทครู การเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาและการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต ขอเสนอแนะ ในการวิจัยครั้งตอไป ควรมีการศึกษารูปแบบเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียน การสอนออนไลนระบบออนไลน สำหรับบริบทของการศึกษาในประเทศไทย

abstract:

Abstract Title The Management of Distance Education Guidelines, Non – Formal Education Curriculum, Basic Education level, B.E. 2008 with the Online system Field Social – Psychology Name Mr. Komkrit Chankajon, Course NDC, Class 63 Guidelines for managing distance education of Non-formal Education Curriculum, Basic Education Level, B.E. 2551 with the online system is a new alternative for people outside the school system and education management in line with the objectives of education reform, followed item 2) Reduce Disparity in Education (2.1) Opportunities to access education and technology that support learning, and item (2.2) Opportunity to receive alternatives in education and learning development that is suitable for learners' potential Objectives of research the components and the guidelines for the management of distance education in the Basic Education Curriculum 2008 with the online system. The scope of research on content focuses on the study of elements and approaches to the management of distance education, Non-Formal Education Courses at the Basic Education level, B.E. 2551 with the online system. The area of population scope consisted of 7 experts/teachers with expertise in distance education and educational technology, and 21 of them were qualitative research together with descriptive research as results : 1. Components of online distance education management found that there are 7 components : Component 1 Online Distance Education Teachers, Component 2 Online Distance Learners, Component 3 Online Learning Resources, Component 4 Self-Development Activities, Component 5 Measurement and Evaluation, Component 6 Online Supplementary Teaching and Component 7 Online Consulting. 2. Guidelines for the management of distance education according to the curriculum of Non-Formal Education at Basic Education Level 2008 with the online system is an educational management that responds to the model of education management under the 20- year strategy (2017-2036 AD). In the age of Thailand 4.0, which requires transformational learning reforms by developing a learning system that responds to changes in the 21st century, focuses on learners’ learning skills and has a mind to learn all the time as well as designing a new learning system, teacher role change, optimizing the education management system and developing a lifelong learning system. Recommendation for the next research should be to study more models to increase the efficiency of online teaching and learning in the context of education in Thailand.