Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาการนำกำลังพลสำรองเข้ารับหน้าที่ทหารเป็นการชั่วคราวของ ทบ., (วปอ.9195)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เกรียงไกร ปราสาฑสุวรรณ, (วปอ.9195)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาการน าก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหารเป็นการชั่วคราว ของกองทัพบก ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี เกรียงไกร ปราสาฑสุวรรณ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๓ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการส านักแผนเตรียมพล กรมก าลังพลทหารบก การวิจัยในครั้งนี้ เพื่อศึกษาแนวทางการด าเนินการ ผลการด าเนินการ และปัญหา ข้อขัดข้องในการน าก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหารเป็นการชั่วคราวของกองทัพบกในปัจจุบัน และเพื่อให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุง พัฒนาการด าเนินการในปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการขยายผลการน าระบบก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหาร เป็นการชั่วคราวของกองทัพบกไปสู่หน่วยอื่น ๆ ได้ต่อไปในอนาคตโดยขอบเขตการวิจัย คือ ศึกษาถึงผล การด าเนินการ ในห้วงที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาข้อขัดข้อง และอุปสรรคของการด าเนินการ อีกทั้ง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติการ ในการพัฒนาการน าก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหาร เป็นการชั่วคราวของกองทัพบกในอนาคต โดยกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลส าคัญนั้น ใช้การเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง โดยแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม กลุ่มระดับผู้บังคับบัญชาของก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหาร เป็นการชั่วคราว กลุ่มระดับเจ้าหน้าที่ได้แก่ เพื่อนร่วมงานของก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหาร เป็นการชั่วคราว และกลุ่มที่สาม คือ กลุ่มระดับผู้ปฏิบัติได้แก่ ก าลังพลส ารองเข้าท าหน้าที่ทหาร เป็นการชั่วคราว เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและศึกษาค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แนวทางการด าเนินการยึดตามกรอบงานด้านก าลังพลของกองทัพบก คือ การก าหนดความต้องการและการคัดสรรก าลังพล การใช้และการควบคุมก าลังพล การพัฒนาก าลังพล การอนุรักษ์ก าลังพล และการพ้นจากราชการ ซึ่งผลการด าเนินการต่าง ๆ ส่วนใหญ่เป็นไปตาม แนวทางการด าเนินการที่ก าหนด เว้นจ านวนในการบรรจุจ้าง ซึ่งขาดจ านวน ๑๕ อัตราในส่วนของอัตรา นายทหารประทวน ส่วนปัญหาข้อขัดข้องของการด าเนินการ ได้แก่ ผู้เข้าท าหน้าที่ทหารในอัตรา นายทหารประทวน ไม่ครบตามความต้องการที่กองทัพบกก าหนด รวมถึงการไม่สามารถจัดการฝึก ในหลักสูตรต่าง ๆ ที่จ าเป็นได้อันเนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ส าหรับแนวทางการปรับปรุง และพัฒนา จะพิจารณาปรับปรุงงานในด้านต่าง ๆ ตามกรอบงาน ด้านก าลังพล โดยเน้นการสร้างแรงจูงใจให้กับก าลังพลเหล่านี้ ส่วนแนวทางการขยายผลไปสู่หน่วยอื่น ๆ ในอนาคตนั้น ควรน าไปขยายผลกับหน่วยในส่วนก าลังรบและส่วนสนับสนุนการรบ โดยปรับวิธีปฏิบัติอื่น ๆ ให้เหมาะสม ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ เชิงนโยบาย คือ การสร้างแรงจูงใจ โดยเฉพาะสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่เหมาะสม อีกทั้ง ควรมีการบรรจุจ้างก าลังพลส ารองหญิงได้ เชิงปฏิบัติการ คือ การประชาสัมพันธ์ ที่เป็นระบบ และการมีแผนเผชิญเหตุส าหรับการด าเนินการในทุกขั้นตอน

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines to develop the reserve deployment for Temporary Assignment Reserves of the Royal Thai Army Field Military Name Major General Kriengkrai Bhrasartsuwan Course NDC Class 63 The objectives of this qualitative research on the temporary assignment reserve system are to study the action guidelines, performance and problems and then propose the developing guidelines to improve the efficiency as well as the suggesting guidelines to expand the results of the reserve deployment to other units in the future. The researcher conducted a study on results, problems and obstacle of the deployment including policy and operational recommendations for the development of the reserve deployment for Temporary Assignment Reserves of the Royal Thai Army in the future. The collection of primary data was conducted from related documents and in-depth interviews with key informants who are working directly related to temporar assignment reserves. The samples were divided into 3 group; the commanding group, the colleague group and the temporary assignment reserve group. The results of this research could be concluded that the course of action was based on the 5 aspects of the army personnel frameworks. The results of the reserve deployment are in accordance with the established guidelines except for the number of recruitments which lacks 15 positions in the non-commission officer and inability to manage some necessary trainings due to the epidemic situation of coronavirus disease 2019. The developing guidelines should be considered according to the army personnel frameworks especially focusing on motivation of the temporary assignment reserves. In the future, the temporary assignment reserves should be assigned to combat and combat support units. In the term of the policy recommendations, there should be more incentives particularly appropriate benefits and women’s reserves should be recruited. In the term of practical, there should be a systematic publicity and have a contingency plan for every step of the process.