Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมสุขภาวะข้าราชการตำรวจของสำนักงานตำรวจแห่งชาติในทศวรรษหน้า

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี ชนินทร์ ชะโยชัยชนะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการส่งเสริมสุขภาวะข้าราชการต ารวจของส านักงานต ารวจแห่งชาติ ในทศวรรษหน้า ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พลต ารวจตรี ชนินทร์ ชะโยชัยชนะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสุขภาวะของข้าราชการต ารวจจากผลการตรวจ สุขภาพประจ าปี2) วิเคราะห์ปัญหาที่ส าคัญของสุขภาวะข้าราชการต ารวจ 3) ศึกษาแนวทางการแก้ไข ปัญหาสุขภาวะข้าราชการต ารวจ และ 4) เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงนโยบายในการส่งเสริมสุขภาวะ ข้าราชการต ารวจ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารของส านักงานต ารวจแห่งชาติ3 คน บุคลากรทางการแพทย์ ของโรงพยาบาลต ารวจ 9 คน และข้าราชการต ารวจ 3 คน รวมจ านวน 15 คน ใช้วิธีการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ผู้วิจัยเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยบันทึกข้อมูลผลการตรวจสุขภาพประจ าปีของข้าราชการต ารวจ และสัมภาษณ์ผู้ให้ ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงบรรยาย ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้าราชการต ารวจส่วนใหญ่ เป็นโรคไขมันในเลือดสูง รองลงมา น้ าหนักตัวเกินเกณฑ์มาตรฐาน 2) ปัญหาส าคัญได้แก่ ปัญหาสุขภาพกายและจิต 3) แนวทางแก้ไขปัญหา คือ การก าหนดนโยบายแบบสั่งการจากบนลงล่าง หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก ได้แก่ โรงพยาบาลต ารวจ โครงการและกิจกรรมเชิงรุกและเชิงปฏิบัติการ มุ่งให้ความรู้ สร้างความตระหนักแก่ข้าราชการต ารวจ และใช้วงจร PDCA แนวคิดที่ใช้ ได้แก่ การป้องกัน การประเมินความต้องการ และการสร้างตัวแบบด้าน สุขภาพ การให้ข้อมูลป้อนกลับ การเสริมแรง และ 4) แนวทางแก้ไขปัญหาเชิงนโยบาย ได้แก่ 1) การ ปฏิรูปนโยบาย และการปรับโครงสร้างพื้นฐาน 2) การปฏิรูปการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ในเรื่องการ สร้างความตระหนักและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การส่งเสริมตัวแบบที่ดี และการจัดสภาพแวดล้อมที่ เกื้อกูล และ 3) การปฏิรูประบบสนับสนุน ได้แก่ การเสริมแรง การให้รางวัล การจัดสรรทรัพยากร ครอบครัวและเครือข่าย และการให้ข้อมูลป้อนกลับ ค าส าคัญ: แนวทางการส่งเสริมสุขภาวะ ข้าราชการต ารวจ

abstract:

Abstract Title Guidelines on Health Promotion for Police Officers, Royal Thai Police in Next Decade Field Social – Psychology Name Pol.Maj.Gen. Chanin Chayochaichana Course NDC Class 57 The purposes of this research were to 1) study police officers’ wellness from their annual health checkups, 2) analyze the important problems of police officers’ wellness, 3) examine the police officers’ problem solving guidelines, and 4) propose the problem solving policy guidelines on health promotion. Purposive sampling was used for selecting 15 key informants for interview. They were 3 administrators of the police officers, the Royal Thai Police, 9 medical professions, Police General Hospital, and 3 police officers. The research instruments were the recoding form and structural interview questionnaire. Descriptive statistics was used for the quantitative data and content analysis was used for the qualitative data. The results were as follows: 1) Most police officers had hyperlipidemia. The second problem was overweight. 2) The important physical and mental problems were found. 3) Problem solving guidelines were identifying the top-down policy, assigning Police General Hospital to service the police officers’ annual health checkups, doing workshop and proactive activities toward building knowledge, comprehension, and awareness. PDCA cycle with prevention concepts, need assessments, role models, feedback, and reinforcement were used. 4) The problem solving policy guidelines on health promotion were policy reform and fundamental restructuring. Converting policy into practice reform for raising awareness, changing behavior, promoting good health role models, and building supportive environment was suggested. Supportive system reform: reinforcement, rewards, and resource allocation, family and network support, and feedback should be encouraged. Keywords: Health Promotion Guideline, Police Officers