เรื่อง: การกำกับดูแลเพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางราง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จุฬา สุขมานพ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การก ากับดูแลเพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างพื้นฐาน
ด้านการขนส่งทางราง
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายจุฬา สุขมานพ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๗
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดและกระบวนการก ากับดูแล
ทางเศรษฐกิจที่สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับการขนส่งทางราง และศึกษาแนวคิด กระบวนการและ
รูปแบบการก ากับดูแลกิจการขนส่งทางรางในต่างประเทศ เพื่อน ามาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อให้เกิด
ความเหมาะสมกับการน ามาปรับใช้กับประเทศไทย
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรูปแบบการบริหารจัดการด้านการขนส่งทางรางของประเทศต่างๆ
แล้ว พบว่าโครงสร้างบริหารจัดการระบบรางที่มีความเหมาะสมมากที่สุดส าหรับประเทศไทย คือ
การแบ่งแยกการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Investment) และการก ากับดูแล
(Regulation) ออกจากการประกอบการหรือการให้บริการ (Operation) โดยสมควรจัดตั้ง
กรมการขนส่งทางรางขึ้นให้มีบทบาทและอ านาจหน้าที่ในการลงทุนและบ ารุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน
ที่เป็นการบริการสาธารณะ รวมทั้งการก ากับดูแลด้านความปลอดภัย (Safety Regulation)
และการก ากับดูแลทางเศรษฐกิจ (Economic Regulation)
การใช้อ านาจก ากับดูแลทางเศรษฐกิจควรด าเนินการในรูปของคณะกรรมการ
โดยก าหนดให้กรมการขนส่งทางรางท าหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการ นอกจากการผลักดัน
การตราร่างพระราชบัญญัติบริหารการขนส่ง พ.ศ. .... ซึ่งมีบทบัญญัติในการจัดตั้งคณะกรรมการก ากับ
ดูแลการประกอบการขนส่งทางรางแล้ว กระทรวงคมนาคมและรัฐบาลจ าเป็นต้องเผยแพร่แนวความคิด
ในการปรับโครงสร้างการขนส่งทางรางให้สาธารณชนได้เข้าใจและร่วมสนับสนุนนโยบายดังกล่าว
และยังต้องท าความเข้าใจกับการรถไฟแห่งประเทศไทยและสหภาพแรงงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
เกี่ยวกับความจ าเป็นในการปรับโครงสร้างสาขาการขนส่งทางราง ตลอดจนด าเนินการบริหารประเด็น
(Issue Management) ผลกระทบทั้งในเชิงบวกและเชิงลบที่อาจเกิดขึ้นจากการปรับโครงสร้างดังกล่าว
abstract:
Abstract
Title Economic Regulation for Promoting the Utilization of Rail Infrastructure
Field Economics
Name Mr. Chula Sukmanop Course NDC Class 57
This research is intended to study and analyze concepts and procedures on
economic regulation that can be adopted for rail transport. It includes analyses and
adaptations of concepts, procedures and forms of rail transport regulations in foreign
countries with a view to applying them to Thailand.
Upon the comparative studies on the administration of rail transport of several
countries, it is found that the most appropriate structure for rail transport administration in
Thailand is to separate the roles in infrastructure investment and regulation from transport
operation. It is recommended Department of Rail Transport (DRT) be established to perform
the government’s function in provision and maintenance of infrastructure and the safety and
economic regulator. However, to perform the function of economic regulator, a regulatory
board should be set up, with representatives of DRT serving as the secretariat of the board.
To realize the above recommendations, it is necessary to expedite the draft
Transport Administration Act B.E. …. , having provisions relating to the establishment of Rail
Transport Regulatory Board. Moreover, the Ministry of Transport and the government needs
to create public awareness of the need for rail transport structural reform and ensure that
the majority of public understand and give full support. The issue management and change management action plans need to be prepared to deal with the positive and negative
impacts of the reform on State Railway of Thailand and their Labour Union.