Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการค้าผลไม้ในจังหวัดตราด, (วปอ.9482)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายกัฬชัย เทพวรชัย, (วปอ.9482)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2564
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย  อ เร ื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการค าผลไมใน จังหวัดตราด ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นายกัฬชัยเทพวรชัย หลักสูตรวปอ. รุนที่๖๔ จังหวัดตราดมีเกษตรกรเพาะปลูกทุเรียนจํานวน ๕,๖๔๓ รายเนื้อที่เพาะปลูก 59,199 ไร เนื้อที่ใหผล ๓๒,๐๕๓ ไรผลผลิต ๕๖,๗๔๔ ตัน ผลผลิตเฉลี่ย ๑,๗๗๓ กิโลกรัม/ไรมีหนวยงานที่ เกี่ยวของไดใหความรวมมือและสนับสนุนการจัดทําฐานขอมูลทางการเกษตร สูการไดรับมาตรฐาน GAP จํานวน ๕,๖๔๓ รายและการผลิตทุเรียนใหไดคุณภาพ มาตรฐานเกษตรอินทรียจํานวน ๗ ราย และเขาสูระบบ GI จํานวน ๑๘ รายการพัฒนาการผลิตผลไม (ทุเรียน) ใหมีปริมาณและคุณภาพ สอดคลองกับความตองการของ ตลาดภายในประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการสงออก จึงควรมีการพัฒนาดังนี้๑) การพัฒนาการปลูกทุเรียนตองมีการวางแผนการจัดการ มีความรูตาม หลักวิชาการและปฏิบัติตามหลักวิชาการ ๒) การดําเนินการสงเสริมและพัฒนาการผลิตสินคา เกษตรใหมีคุณภาพและไดมาตรฐาน ๓) ขับเคลื่อนการดําเนินงาน ผานหนวยงานที่เกี่ยวของและ กฎหมาย ๔) สงเสริมการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันที่สอดคลอง กับความตองการของตลาด ซึ่งภายใตแนวทางการบริหารตามหลัก POSDCORB สูการพัฒนา ศักยภาพการบริหารจัดการ การสรางระบบและเครือขายการกระจายผลผลิตสูตลาดใหทั่วถึง ภายในประเทศ สามารถพัฒนาโมเดลแนวทางการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการคาผลไม จังหวัดตราด ประกอบดวย ๑) P- Planning การพัฒนา/เพิ่มชองทางตลาด และขับเคลื่อนการจําหนาย สินคาในรูปแบบขององคกรเกษตรกร ๒) O-Organizing สนับสนุนดานแรงงานภาคเกษตรและการ บริหารจัดการในสวนของผลผลิตนอกตลาด นําไปสูกิจกรรมแปรรูป ๓) S-Staffing บริหารผาน หนวยงาน ที่เกี่ยวของในการสรางการรับรูในการผลิตสินคาเกษตรใหไดตามมาตรฐาน ๔) D-Directing การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบขนสง โลจิสติกสการควบคุมบังคับบัญชาผานมาตรการปอง ปรามการผลิตสินคาใหไดมาตรฐาน และการกําหนดนโยบายในการแตงตั้งคณะทํางานที่เกี่ยวของ ๕) Co-Coordinating การประชาสัมพันธมาตรฐานสินคาเกษตรใหกับผูผลิต กับผูบริโภค ๖) R- Reporting การเชื่อมโยงและหาตลาดรองรับผลผลิต ๗) B- Budgeting การสนับสนุนการ จัดทําขอมูลและการทําวิจัยในสวนของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

abstract:

Abstract Title Guidelines for developing fruit trade management potential in Trat Province Field Economics Name Mr. Kanchai Thepvorachai Course NDC Class 64 Trat Province has 5,643 durian farmers, 59,199 rai of cultivated area, 32,053 rai of productive area. The productivity is 56,844 tons, and average yield 1,773 kg/rai. There are relevant agencies to cooperate and support the establishment of GAP to 5,643 standards, quality durian production organic farming standards, 7 cases and entered into the GI of 18 cases. Development of fruit (durian) production to be in quantity and quality in accordance with the needs of domestic market and increase export capacity ,therefore, it should be developed as follows 1)development requires management planning, knowledge and follow academic principles. 2)The promotion and development of agricultural product production to be of quality and standard. 3)Driving operations through relevant agencies and laws. 4)Promote the value added of agricultural products and increase competitiveness in line with market demand.Which under the management guidelines according to POSDCORB principles to the development of management potential Creating a system and distribution network to distribute products to the market throughout the country. Able to develop a model for developing the potential of fruit trade management in Trat Province, consisting of 1)P Planning Developing/adding marketing channels and drive the distribution of products in the form of a farmer's organization 2 ) O-Organizing Support for labor in the agricultural sector and management of off-market products lead to privatization activities 3)S-Staffing Management through the agency involved in creating awareness in the production of agricultural products to meet the standards 4)D-Directing Operational control, transportation system, logistics, command control. through measures to prevent the production of products to meet the standards and formulating policies for appointing relevant working groups 5)Co-Coordinating Public relations of agricultural product standards to producers and consumers 6)R- Reporting Connecting and finding markets to support products 7)B- Budgeting Data preparation support and research in the field of postharvest technology