เรื่อง: การจัดสรรงบประมาณให้สถาบันอุดมศึกษาเพื่อเพิ่มการผลิตการจัดการศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์, (วปอ.9164)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางอมรรัตน์ ภูมิวสนะ, (วปอ.9164)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง การจัดสรรงบประมาณให้สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการผลิตและพัฒนา
การจัดการศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางอมรรัตน์ ภูมิวสนะ ต าแหน่ง ผู้อ านวยการกองจัดท า
งบประมาณ
ด้านสังคม 2 ส านักงบประมาณ ส านักนายกรัฐมนตรี
หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา โครงสร้างอายุของประชากรก าลังเปลี่ยนแปลงอย่างมาก
ภาวะเจริญพันธุ์มีแนวโน้มคงที่ – ลดลง ประชาชนไทยมีอายุเฉลี่ยสูงขึ้น การเพิ่มจ านวนของผู้สูงอายุ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์ การเปลี่ยนแปลงแบบแผนความเจ็บป่วยที่มีความซับซ้อน
มากขึ้น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและ
ความเสมอภาคทางสังคม ก าหนดการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขและ
การศึกษา โดยเฉพาะส าหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในด้านบริการสาธารณสุข เน้นการ
กระจายทรัพยากรและเพิ่มบุคลากรทางการแพทย์การพยาบาล ให้กระจายไปยังพื้นที่ต่างๆ เพื่อให้
สามารถดูแลประชาชนได้อย่างทั่วถึง การจัดการศึกษาเพื่อผลิตก าลังคนด้านสาธารณสุข สาขา
พยาบาลศาสตร์ จึงยังมีความจ าเป็นที่สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องด าเนินการต่อไป ผู้วิจัย
จึงสนใจที่จะศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาอุปสรรคในการจัดสรรงบประมาณ โดยการรวบรวมข้อมูลและ
การสัมภาษณ์ผู้บริหารของมหาวิทยาลัย จ านวน 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี และมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
จากการศึกษาพบว่า การจัดสรรงบประมาณไม่เป็นปัญหาอุปสรรคในการผลิตและ
เพิ่มการผลิตบุคลากรด้านสาธารณสุข สาขาพยาบาลศาสตร์ของทั้ง 3 มหาวิทยาลัย นักศึกษาของแต่
ละมหาวิทยาลัยมีค่าใช้จ่ายในการศึกษาที่ต่างกัน งบประมาณที่ได้รับเมื่อรว มกับรายได้จาก
ค่าธรรมเนียมการศึกษาเพียงพอส าหรับการด าเนินการ แต่ปัญหาที่พบ คือ การขาดแคลนอาจารย์
ประจ าในการจัดการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การจัดท าแผนการฝึกของนักศึกษาที่
ฝึกทับซ้อนกับสถาบันอื่น ผู้วิจัยจึงมีความเห็นว่า ควรที่จะได้มีการเร่งผลิตอาจารย์/บุคลากรด้านสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยควรวางแผนการส่งนักศึกษาฝึกภาคปฏิบัติกับหน่วยงานโดยจัดท า
เป็นพันธสัญญาในฐานะหน่วยงานร่วมผลิต ซึ่งการด าเนินการดังกล่าวจะช่วยลดปัญหาและลด
ค่าใช้จ่ายลงได้
abstract:
Abstract
Title Budget allocation to higher education institutions for the production
and development of education management. Nursing Science
Field Social – Psychology
Name Mrs. Amonrat Phumiwasana Course NDC Class 62
By the year 2026, the World Health Organization (WHO, 2010) expects that the
demand of nurse in Thailand will increase in a proportion of 1/350 population. The Health
survey reported by the Ministry of Public Health found that the density of nurse in
Thailand mostly crowed in Bangkok as of 1 nurse per 215 populations. While in other
region, the result is 1:493 in the central part of Thailand; 1:737 in the North East; 1:504 in
the North and 1:220 in the South. This research, focus on the relevant information which
support an annual budget expenditure, operational problems and obstacles. Main
intension of this research is to suggest the budget allocation direction for higher education
institute to support nursing education. Study gathering information from an interview with
the deans of Faculty of Nursing Science from 3 different higher education institutes. These
institutes join in the government collaboration project during 2018 - 2019, which
established to produce new nurse and develop nursing education, but do not own any
health facilities. This research extract those interviews and analyze them to support an
annual budget expenditure, operational problems and obstacles. The result turn out that
the way the government allocates the budget does not obstruct the production and
education of the nursing program from 3 higher education institutes. Even each student
has different expenses to handle, the budget they received and the income from the
tuition fee are sufficient to operate. The main problem that the institutes face is an
inadequate professor to educating both theoretical and physical task. Furthermore, once
nursing students take the internship, they mostly overlap with others institutions.
In conclusion, this research reflects that the government together with all the institutes
should speed up producing professor and health care personnel. Moreover, each institute
should setting up an internship plan and makes an agreement with the health care unit as
a Joint Production agreement, which will reduce problem and cost to theunit as well.