Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยเอกชนในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ, (วปอ.9156)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายอณาวุฒิ ชูทรัพย์, (วปอ.9156)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยเอกชนในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อรองรับ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย ดร.อณาวุฒิชูทรัพย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี การจัดท าแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐ และอัตราการเกิดของประชากรไทยลดลงเป็น อย่างมาก ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นเหตุผลส าคัญของการวิจัยเรื่อง “การจัดการ เรียนรู้ของมหาวิทยาลัยเอกชนในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ” ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑.ศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยเอกชน ๒.ศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัยเอกชนในปัจจุบัน ๓.ศึกษาแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ ๒๑ ผู้วิจัยได้ ก าหนดกระบวนวิธีการวิจัย โดยการใช้กระบวนวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้บริหาร อาจารย์ และนักศึกษา รวมจ านวนทั้งหมด ๙ คน และท าการสังเคราะห์ผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อน ามา ก าหนดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ จากการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชน มีแนวทางในการพัฒนาการจัดการการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ ได้ ๓ แนวทางดังนี้ ๑. การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ โดยเพิ่มจ านวนนักศึกษา กลุ่มที่เป็นเป้าหมายใหม่ เช่น คนท างานที่ยังไม่มีวุฒิการศึกษาในระดับปริญญาตรีโดยเพิ่มการจัด หลักสูตรให้ผู้ที่ท างานแล้วสามารถมาเรียนเพิ่มเติมความรู้ใหม่ ๆ หรือร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อเพิ่มจ านวนนักศึกษา และมหาวิทยาลัยเอกชนควรร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนา บุคลากรของแต่ละสถานประกอบการ โดยจัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการท างาน ของสถานประกอบการ ๒. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยเอกชน เช่น พัฒนาเทคนิค และวิธีการสอนให้อาจารย์มีวิธีการสอนที่หลากหลาย โดยใช้การเพิ่มเติมบทบาทการเรียนแบบ Active Learning พัฒนาการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ของอาจารย์ เพิ่มคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้อาจารย์อย่างพอเพียง และรัฐบาลควรจัดให้มีอินเทอร์เน็ตฟรีเพื่อให้นักเรียน นักศึกษาได้ใช้ ในการศึกษา ๓. การพัฒนาเนื้อหาวิชา/หลักสูตรการสอน เช่น พัฒนาการเรียนการสอนเพื่อเพิ่ม ความเป็นสากลของผู้ส าเร็จการศึกษา โดยเน้นการเรียนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่น ๆ อีกหนึ่งภาษา เป็นภาษาที่สาม และเพิ่มการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยี ได้อย่างหลากหลาย และสามารถเขียนโปรแกรมเบื้องต้นได้ผู้วิจัยยังได้เสนอแนะในการปรับนโยบาย ในการบริหารการศึกษาของรัฐบาล และแนวทางในการจัดการศึกษาของผู้บริหาร แนวทาง การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนของอาจารย์และนักศึกษา

abstract:

Abstract Title Learning management of private university in the 21st century under the national strategic planning Field Social - Psychology Name Dr. Anawut Choosup Course NDC Class 62 The changing in economy, society, politics, and technology, the stating of the national strategic plan and decreasing in the growth rate in Thailand. affect learning in many ways. This impact is the reason for this research “Learning management of private University in the 21st century under the national strategic planning” The objectives of this research is as follow 1) study the learning management of private University; 2) study the problems in learning management; and 3) to find the ways for learning management in 21st century the research method. This research used documentary research and in-depth interview from University administration teachers, and students. The research that there are 3 ways to improve the learning management in 21st century. which are 1. to improve management by at temping to increase the number of students such as adding new target groups of students 2. to improve learning methods by using active learnings, online learning and providing computer other teaching equipment and internet for learning 3. to improve to international lye less on and to teach knowledges and skills in technological and programming. The researcher also suggests to improve the government policy in education and suggests to improve the new normal in education for administration, teachers and students