เรื่อง: การปกป้องโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญด้านสื่อสารการบิน เพื่อความปลอดภัยในการเดินอากาศ, (วปอ.9143)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสุรชัย หนูพรหม, (วปอ.9143)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การปกป้องโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญด้านสื่อสารการบิน เพื่อความปลอดภัย
ในการเดินอากาศ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายสุรชัย หนูพรหม หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
จากการที่ระบบสื่อสารการบิน ซึ่งถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญ (Critical Infrastructure)
และเมื่อเกิดการโจมตี หรือการรบกวนทางความถี่ จะท าให้นักบินไมสสามารถสื่อสารกับเจ้าหน้าที่
ควบคุมจราจรทางอากาศได้ ซึ่งถือเป็นปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยอันตราย เนื่องจากปัจจุบันยังมีการ
รบกวนสัญญาณวิทยุสื่อสาร ทั้งที่เจตนาและไมสเจตนาอยสางตสอเนื่อง ซึ่งยสอมสสงผลกระทบทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิจัยถึงความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา
ดังกลสาว โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อคือ 1. เพื่อศึกษาปัจจัย ที่มาของการรบกวน และผลกระทบที่มีตสอ
ระบบสื่อสารการบินระหวสางนักบินกับผู้ควบคุมจราจรทางอากาศ รวมทั้งนักบินกับศูนย์ปฏิบัติการบิน
ของสายการบิน 2. เพื่อเสนอแนวทางการป้องกัน การตั้งรับ/การด าเนินการเชิงรุก ในการป้องกัน
ปัจจัยเสี่ยงตสาง ๆ 3. การตอบโต้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงการกอบกู้คืนสูสสถานการณ์ปกติ ทั้งนี้
การวิจัยดังกลสาวเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีขั้นตอนการด าเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน คือ 1. สืบค้น
ข้อมูลจากเอกสาร ต าราวารสาร สิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ต และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้อง อันได้แกส
ผู้บริหารหนสวยงานผู้ให้บริการของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย
บางสสวน 2. การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ด้วยการน าข้อมูล
ที่ได้มาทั้งจากการสัมภาษณ์ และจากเอกสารมาตรวจสอบ จัดกลุสมตีความ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ในปัจจุบัน และแนวโน้มการด าเนินงานปรับปรุงพัฒนาระบบ CNS ของแผน Aviation Block
Upgrade ซึ่งเป็นสสวนหนึ่งของแผนหลักด้าน Future Air Navigation ระยะที่ 1 (FAN-1) ของ
องค์การการบินพลเรือนระหวสางประเทศ (ICAO) จากนั้นได้ท าการอภิปรายข้อมูลรสวมกับทฤษฎี
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อสรุป ผลกระทบและเสนอแนะแนวทางที่ประเทศไทย และประเทศสมาชิก
ประชาคมอาเซียนควรด าเนินการ
ผลการวิจัยพบวสา การถูกรบกวนของระบบวิทยุสื่อสารการเดินอากาศมีผลกระทบ
ตสอกิจการบริการเดินอากาศ โดยข้อมูลจากทุกประเทศ มีความเห็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ
มีประสบการณ์ด้านปัญหาการรบกวนของวิทยุสื่อสารเหมือนกัน บางประเทศได้ก าหนดแผนในการ
พัฒนาตาม ASBUs เพื่อไปสูสการสื่อสารข้อมูลการบิน บางประเทศไมสมีแผนในการด าเนินการดังกลสาว
ซึ่งจากประสบการณ์ในการบริหารโครงการขนาดใหญสในตสางประเทศของผู้วิจัย พบวสา มี 2 ประเด็น
ที่ส าคัญคือ บางประเทศในภูมิภาคอาเซียนขาดการพัฒนามานานเนื่องจากติดขัดด้านงบประมาณ
และในหลายประเทศพบวสาวิศวกรขาดความเชี่ยวชาญในอาชีพ บุคลากรด้านวิศวกรรมสื่อสาร
เดินอากาศ สสวนใหญสเป็นรุสนที่บุกเบิกงานด้านวิทยุสื่อสารด้วยเสียงเป็นหลัก ท าให้ขาดความมั่นใจ
ในการพัฒนาไปสูสระบบสื่อสารดิจิทัล ทั้งยังขาดในเรื่องการพัฒนาบุคลากรเป็นส าคัญ ดังนั้น
หากพิจารณาในประเด็นผลกระทบ จะสามารถก าหนดได้เป็น 3 สสวนหลัก คือ 1. ด้านบริการข
เดินอากาศ มีการรบกวนเกิดขึ้นทุกพื้นที่อยสางไมสตสอเนื่อง แตสในอีกด้านหนึ่งก็ถือเป็นโอกาสดี
ที่ประเทศไทยและประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน จะรสวมมือกันยกระดับมาตรฐานและการพัฒนา
ศักยภาพด้านวิทยุสื่อสารดิจิทัล ในการรับสสงข้อมูล เพื่อเป็นสสวนเสริมให้กับสายการบินตสาง ๆ ในการ
เลือกใช้งาน (เนื่องจากอากาศยานในบางรุสนที่เกสามาก เชสน ATR72 ยังจ าเป็นในการใช้วิทยุสื่อสาร)
ทั้งนี้เพื่อรองรับปริมาณจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นอยสางตสอเนื่อง 2. ด้านเทคโนโลยีระบบสื่อสาร
ข้อมูลแทนการใช้เสียง เพื่อให้เป็นไปตามข้อก าหนด และค าแนะน าจาก ICAO พบวสาในหลายประเทศ
ในอาเซียนยังไมสได้ด าเนินการ จึงเป็นโอกาสที่จะรสวมมือกันพัฒนาระบบสื่อสารข้อมูล เพื่อการบริหาร
จราจรทางอากาศรสวมกัน ตลอดจนโอกาสในการใช้ทรัพยากรบางสสวนรสวมกัน (เชสนการติดตั้งระบบ
DataLink เพื่อให้บริการสื่อสารข้อมูลปฏิบัติการบินของสายการบิน แตสละประเทศสามารถลงทุน
เพียงสถานีรับสัญญาณ (Radio Ground Station : RGS) โดยข้อมูลที่สายการบินต้องการจะถูก
สสงผสานระบบบริหารข้อมูลและเครือขสาย (Network Operations Center : NOC) ที่ประเทศไทย
โดย บริษัท วิทยุการบินแหสงประเทศไทย จ ากัด ได้ติดตั้งใช้งานแล้ว 3. ด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการ
บริการเดินอากาศพิจารณาวสาเป็นผลกระทบ ทั้งที่เป็นภัยคุมคาม คือการที่บุคลากรมีความสามารถ
และคุณภาพในการบริหารจัดการด้านวิทยุสื่อสารดิจิทัล หรือวิทยุสื่อสารข้อมูลที่ไมสเทสากัน
อาจเป็นความเสี่ยงให้หลายประเทศไมสมีความพร้อมที่จะพัฒนาไปสูสการสื่อสารการบิน ข้อมูลการบิน
ซึ่งจะสสงผลตสอการพัฒนาในภาพรวม เพื่อเพิ่มความสามารถในการบริหารจัดการเที่ยวบินที่มากขึ้น
(เชสน การรสวมมือในการตัดสินใจเพื่อบริหารจัดการปริมาณเที่ยวบิน (Collaborative Decision
Making) ระหวสางสนามบินกับสนามบิน ซึ่งต้องใช้การสื่อสารข้อมูลผสานระบบ ATS Inter-Facility
Data Communication System : (AIDCs) เพื่อความรวดเร็วในการสื่อสาร โดยเฉพาะสนามบิน
ที่มีปริมาณจราจรคับคั่ง ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอาจพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ
ทัดเทียม เพื่อเตรียมพร้อมในการรับเทคโนโลยีใหมส ซึ่งในสสวนนี้ถือเป็นยุทธศาสตร์ของ
บริษัทวิทยุการบินแหสงประเทศไทยจ ากัด ในอันที่จะให้การสนับสนุนประเทศตสาง ๆ ด้านการฝึกอบรม
ตามข้อก าหนดและค าแนะน าในสสวนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตามแผน ASBUs สสวนข้อเสนอแนะ
ส าหรับประเทศไทยได้แกส 1. ระบบสื่อสารการบิน ควรเรสงปรับปรุงประสิทธิภาพ และริเริ่มการน า
ระบบวิทยุสื่อสารข้อมูล มาให้บริการกับสายการบิน ซึ่งมีความพร้อมในการใช้บริการ 2. ให้ความ
รสวมมือกับประเทศสมาชิกในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น ทั้งในสสวนความชสวยเหลือทั้งทางด้าน
การชสวยเหลือซสอมบ ารุงอุปกรณ์ที่เสียหาย หรือการให้ความรู้ การอบรมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ
ด้านกระบวนการปฏิบัติในการควบคุมจราจรทางอากาศ ด้านมาตรฐานและความมั่นคงของ
การให้บริการเดินอากาศ การบริหารความเสี่ยง และการบริหารความตสอเนื่องในการบริการ
เดินอากาศ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านวิศวกรรม รวมถึงการพัฒนาระบบอุปกรณ์
ตามข้อก าหนดและค าแนะน าของ ICAO ทั้งนี้บริษัท วิทยุการบินฯ ได้มีแผนที่จะจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรม
ATM Professional Center ซึ่งปัจจุบันได้รสวมมือกับหนสวยที่มีความช านาญด้านการฝึกอบรมทั้งใน
สสวนเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศและวิศวกรรมจราจรทางอากาศ และยังเป็นการด าเนินงานที่
ส าคัญด้านหนึ่ง เพื่อตอบสนองตสอนโยบายภาครัฐที่สนับสนุนและสสงเสริมให้ประเทศไทยเป็น
ศูนย์กลางการบินของภูมิภาค
abstract:
Abstract
Title : Critical Infrastructure Protection(Communications) for Aviation Safety
Field : Economics
Name : Mr. Surachai Nuprom Course NDC Class 62
The aviation communication is the critical infrastructure and it has been
intentionally and unintentionally interfered from time to time. This frequency interference
and the being attacked will disable the pilot in communicating with the air traffic
control which causes the endangered and hazardous factor. Moreover, it affects the
economy and national security.
In this research, the researcher has studied the possibility of solving the
mentioned problem with the purposes as follow; 1. To study causes and effects of
the interference which impact on the communication systems between the pilot and
the air traffic control, and the pilot and airline operation center. 2. To suggest the
protection and prevention scheme, proactive action in risk prevention, retortion in
urgent circumstances and restoration. This qualitative research was conducted by 2
steps as follow; 1. Searching and gathering the information from several sources such
as document, journals, printed media, internet and interviews from ASEAN and Asia
service providers. 2.Analyzing content gathered from the interviews and document.
After this step, the researcher, analyze the existing environment and the tentative
procedure of CNS plan in Aviation Block Upgrade which is a part of Future Air Navigation
Plan I of ICAO. The final step is synthesizing the information with related theory in
order to make the conclusion and provide the suggestion for Thailand and ASEAN
Community Member to perform. The research result shows that the investigated
countries are facing the radio communication interference and it affects the air
navigation. Therefore, some countries have stipulated the aviation communication plan in
accordance with ASBU scheme while the others have not done. From the experience
in big project management, the researcher found that there are 2 significant issues
which are 1. some ASEAN countries are not able to develop the plan continuously
because the limitation of budget. 2. Meanwhile, others lack of field specialist
because most of engineers are familiar with voice communication than digital
communication. The effects from communication interference can be illustrated in 3
topics as follow; 1. Air Navigation Service : Even the communication interference causes
the negative consequences in aviation, it is good opportunity for Thailand and ASEAN
countries to jointly upgrade the standard and develop the digital communication in ง
order to be the additional option for airline and support the increase in air traffic
(some old model aircraft like ATR72 still uses radio communication). 2. Information
Technology (instead of using voice communication) : To follow the ICAO’s advice,
AESEN countries need to jointly develop information technology in order to share
the resources and operate air traffic service amongst the region. For example, Data
Link Service aims to provide airline operation network by passing the data via
Network Operation Center (NOC) at Aeronautical Radio of Thailand Ltd. Therefore, to
acquire and gain advantage from Data Link Service, the country needs only Radio
Ground Station (RGS). 3.Human Resource in air navigation service : As the inequality in
efficiency and capability of human resource for managing digital communication,
many countries lack of readiness to develop airline operation communication which
affects the entire ability in air traffic increasing continuously in the region because
some aviation operation such as Collaborative Decision Making requires the coordination
between airports to communicate through ATS Inter-Facility Data Communication
System (AIDCs). The AIDCs facilitates the rapid communication especially in the
airports having heavy air traffic. According to mentioned above, this will be the proper
opportunity for ASEAN countries to develop and educate the human resource in
term of the new technology. Conducting and providing the training in accordance with
ASBUs plan is a significant strategy of AEROTHAI which is able to support other countries.
The suggestion for Thailand 1. The efficiency of aviation communication shall be
improved and the radio communication shall be initiated and serve the airlines’ need.
2. Support and cooperate with the ASEAN countries in term of providing maintenance
support, sharing knowledge, conducting training about risk management, air traffic
operation and standard, engineering operation and continuity management in air traffic
service, and developing the equipment and system in accordance with ICAO.
AEROTHAI plans to set up ATM Professional Center cooperating with the specialists in
air traffic control management and aviation engineering. Furthermore, this will address the
ASEAN Aviation Hub policy of Thai Government.