Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่, (วปอ.9116)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ร.ท. สมพร ปานดำ, (วปอ.9116)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้าง ผู้ประกอบการใหม่ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย เรืออากาศโท สมพร ปานด า หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ การวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้าง ผู้ประกอบการใหม่ “มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. ศึกษาสภาพการด าเนินงานของศูนย์บ่มเพาะ ผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่ ๒. ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของศูนย์ บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่ ๓. ศึกษาแนวทางการพัฒนาศูนย์ บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่ ผู้วิจัยได้ก าหนดกระบวนวิธีการวิจัย โดยการใช้กระบวนวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย การวิจัยเชิงเอกสาร ( Documentary Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน ๗ คน และ ท าการสังเคราะห์ผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อน ามาก าหนดเป็นแนวทางการพัฒนาศูนย์บ่มเพาะ ผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่ จากการวิจัยพบว่า สภาพการด าเนินงานศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การ เป็นผู้ประกอบการใหม่ สถานศึกษาการจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในสถานศึกษา มีการบริหาร จัดการอย่างเป็นระบบ พัฒนาศักยภาพผู้บริหาร ครูในการเป็นที่ปรึกษาธุรกิจ มีการสร้างทักษะการ เป็นผู้ประกอบการแก่นักศึกษาอาชีวศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนที่สนใจ ส่งผลให้ ผู้เรียนและประชาชนสามารถเป็นผู้ประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนปัญหาและอุปสรรค พบว่า สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้ด าเนินการตามนโยบายการพัฒนาศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการ ของผู้เรียน ไม่มีกระบวนการในการก ากับ ส่งเสริม สนับสนุน ติดตาม การด าเนินงานของศูนย์บ่มเพาะ ผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ใช้งบประมาณผิดวัตถุประสงค์ขาดความรู้ความเข้าใจในการด าเนินงาน ศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา ไม่มีแนวปฏิบัติ หรือการบริหารศูนย์บ่มเพาะที่เป็นระบบชัดเจน จากการศึกษาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้สัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้วิจัยได้น าสู่การก าหนดแนว ทางการพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่ดังนี้คือ ๑) สถานศึกษาควรด าเนินการฯ ให้สอดคล้องกับนโยบาย ๒) ก าหนดให้งานของศูนย์บ่มเพาะฯ เป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างการบริหารสถานศึกษา ๓) จัดตั้งศูนย์บ่มเพาะในสถานศึกษาฯ ๔) จัดสรร งบประมาณเพื่อจัดหาทรัพยากรในการท างานให้ครอบคลุมภาระงาน และ สถานศึกษาควรพัฒนาการ บริหารจัดการให้เป็นระบบเพื่อให้การท างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

abstract:

Abstract Title Guidelines on Development of Vocational College Business Incubation Center towards New Entrepreneurs Generating Field Social - Psychology Name Flying Officer Somporn Pandam Course NDC Class 62 This research on “Guidelines on Development of Vocational College Business Incubation Center towards New Entrepreneurs Generating” aims to: 1) study the operational condition of Vocational College Business Incubation Center towards New Entrepreneurs Generating; 2) study the problems and obstacles of Vocational College Business Incubation Center towards New Entrepreneurs Generating; and 3) establish the Guidelines on Development of Vocational College Business Incubation Center towards New Entrepreneurs Generating. The researcher defined research methodology by using qualitative research consisted of documentary research and in-depth interview with 7 experts. The results revealed that it could be managed systematically with development of administrations’ potential and teachers as the business consultants. In addition, entrepreneurship skills were built for vocational students while developing quality of life of general people who were interested in this project. Consequently, students and general people were able to become entrepreneurs efficiently. For problems and obstacles, it was found that some colleges were unable to comply with Policy on Development of Entrepreneurship of Students and they had no process to govern, promote, support, and monitor operations of Vocational College Business Incubation Center. The misused their budgets and lacked of understanding on operations of Vocational College Business Incubation Center. They had no practice or explicit management. From such study, the researcher interviewed with some experts and the result of such in-depth interview was applied to establish the Guidelines on Development of Vocational College Business Incubation Center towards New Entrepreneurs Generating as follows: 1) Colleges should perform operations to be consistent with the policy; 2) Works of Vocational College Business Incubation Center must be defined as a part of college administrative structure; 3) Vocational College Business Incubation Center must be established in colleges; 4) Budgets must be allocated to provide operational resources to cover all work loads and colleges should develop administration systematically for better efficient operations.