Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเสริมสร้างและพัฒนาระบบการผลิตข้าวไทย ด้วยระบบเกษตรแบ่งปันเพื่อรายได้ที่ยั่งยืนและ เพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันในเวทีโลก, (วปอ.9110)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสมเกียรติ มรรคยาธร, (วปอ.9110)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การเสริมสรางและพัฒนาระบบการผลิตขาวไทยดวยระบบเกษตร แบงปนเพื่อรายไดที่ยั่งยืนและเพิ่มประสิทธิภาพการแขงขันในเวทีโลก ลักษณะวิชา เศรษฐกิจ ผูวิจัย นายสมเกียรติ มรรคยาธร เลขประจำตัว ๙๑๑๐ หลักสูตร วปอ.๖๒ การศึกษาเรื่องการสรางเสริมและพัฒนาระบบการผลิตขาวไทยดวยระบบแบงปนเพื่อเพิ่ม รายไดที่ยั่งยืนและเพิ่มประสิทธิภาพการแขงขันในเวทีโลก มีวัตถุประสงคสำคัญเพื่อศึกษาและ วิเคราะหปญหาซึ่งสงผลตอการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรผูปลูกขาวของไทย เพื่อเสนอแนะ แนวทางและพัฒนารูปแบบในการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกขาวโดยอาศัยกลไกความรวมมือ ภาครัฐและเอกชนเพื่อสรางรายไดที่ยังยืน การศึกษานี้ไดประยุกตใชกรอบแนวคิดวาดวยการดำรงชีวิต (Livelihood Approach) ซึ่งเปนการวิเคราะหการใชทุนที่สำคัญ ไดแก ทุนมนุษย ทุนธรรมชาติ ทุน การเงิน ทุนภายภาพ และทุนทางสังคม ของเกษตรกรผูปลูกขาวในพื้นที่ศึกษา พื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี และเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษในการดำรงชีวิต และปรับตัวใหเขากับวิกฤตการณตาง ๆ รวมทั้งระบุแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรผูปลูกขาวโดยอาศัยความรวมมือภาครัฐและ เอกชน ผลการศึกษาชี้ใหเห็นวา ทุนในพื้นที่ซึ่งมีความแตกตางสงผลโดยตรงตอวิธีการผลิต และการ ยอมรับเทคโนโลยี รวมถึงการสงเสริมการเกษตรในพื้นที่ ผลจากการศึกษายังไดเนนย้ำถึงตัวแบบของ การสงเสริมการเกษตรซึ่งมีความหลากหลาย รวมทั้งบทบาทของภาคเอกชนในการเขาไปมีสวนในการ สงเสริมการเกษตร ดังนั้น การสงเสริมการเกษตรของภาครัฐซึ่งเปนกลไกสำคัญที่เคยทำใหเกษตรกร ไทยสามารถแขงขันไดตองมีการปรับเปลี่ยน มีความหลากหลาย และเปดกวางเพื่อใหทุกภาคสวน สามารถมีสวนรวมในการสงเสริมการเกษตรเพื่อพัฒนาเกษตรกรไทยใหยังคงมีขีดความสามารถในการ แขงขันได โดยลักษณะของการสงเสริมการเกษตรนั้นจะตองสามารถลดความเหลือมล้ำ เพิ่ม ความสามารถในการแขงขัน และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพภาครัฐได

abstract:

ABSTRACT Title Enhancing and Developing Ricing Production through sharing system to Increase Sustainable Incomes and Competitiveness in Global Market Field Economics Name Mr. Somkiat Makcayathorn Course NDC Class 62 The study entitled “Enhancing and Developing Ricing Production through sharing system to Increase Sustainable Incomes and Competitiveness in Global Market” is to understand and analyze problems inflict Thai farmers capacities. Likewise, it attempts to propose the novel means and development models to enhance efficiency in rice production through public-private collaboration to generate sustainable incomes. The study applies the livelihood approach which analyzes eminent capitals namely human, natural, financial, physical and social capitals of farmers in 2 areas including Suphanburee and Sri Saket to earn their livings and adapt to stresses and shocks as well as identifying a feasible approach to enhance farmers’ capacities provided through public-private collaboration. The result of this study illustrates that capitals available in different areas determines farmers’ mode of production, technology adoption and extension. It also underlines the diverse model of agricultural extension as well as highlighting roles of the private sector in the extension. As a result, the model of agricultural extension of the private sector which, once, used to be an important mechanism in keeping Thai agriculture competitive needs to be adjusted. It needs to gear toward ways attempting to reduce inequality, increase competitiveness and effectiveness of public sector.