Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: สื่อมวลชนกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ, (วปอ.9096)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวีระยุทธ์ โพธารามิก, (วปอ.9096)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง สื่อสารมวลชนกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ชาติ ผู้วิจัย นายวีรยุทธ โพธารามิก หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของสื่อสารมวลชน กับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติการศึกษาแนวทางปฏิรูปด้านสื่อสารมวลชน ให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒o ปี และการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมด้านเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว พร้อมกับศึกษาแนวทางการปรับตัวของสื่อสารมวลชน การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิง คุณภาพร่วมกับการวิจัยเชิงพรรณนา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรในวิชาชีพที่ เกี่ยวข้อง ท างานในองค์กรวิชาชีพ ทั้งสื่อหนังสือพิมพ์, สื่อโทรทัศน์, สื่อประชาสัมพันธ์, นักวิชาการ ด้านสื่อมวลชน และ อินฟลูเอนเซอร์ (influencer) ที่ปฏิบัติงานมาอย่างต่อเนื่อง น ามาวิเคราะห์ เนื้อหาและสังเคราะห์ข้อมูลทฤษฏี หลักการต่างๆ ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของสื่อสารมวลชนกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒o ปีนั้น มีผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ๕ ด้านด้วยกันคือ ๑) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ แข่งขัน การสร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว ซึ่งสื่อสารมวลชนถือมีส่วนส าคัญในการกระตุ้น เศรษฐกิจให้เกิดการท่องเที่ยว พร้อมทั้งสร้างจิตส านึกในการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนและมีคุณภาพ ๒) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ การใช้สื่อและ สื่อสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม ๓) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สนับสนุนพัฒนาระบบโครงสร้างเครือข่ายด้านข้อมูลเพื่อให้ ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องทันสมัยรวดเร็ว รวมถึงสร้างความตระหนักและสร้างความ รับผิดชอบของสื่อต่อสังคม ๔) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม สร้างองค์ความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคโควิด-๑๙ ซึ่งสื่อมวลชนมีส่วนส าคัญในการสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางปฏิบัติการรับมือกับโรคระบาด ๕) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ประชาชนและภาคี ต่างๆ อย่างไรก็ดีกลุ่มนักวิชาการและนักสื่อสารมวลชนส่วนใหญ่ ยังไม่เห็นแนวทางปฏิบัติแผน ยุทธศาสตร์ชาติที่มีรายละเอียดและเป็นรูปธรรม โดยแผนงานเหล่านี้ควรมีความชัดเจนและมีกรอบ ระยะเวลาไม่ยาวมากนัก เพื่อใช้เป็นมาตรฐานการก ากับดูแลสื่อสารมวลชน

abstract:

Abstract Title Mass communication to consider successful on national strategy Field Strategy Name Mr.Veerayuth Bodharamik Course NDC Class 62 The purpose of this research were studied and analyzed roles and duties of mass communication to considered successful on the national strategy. The mass communication reform guidelines according with the 20-year national strategy and the rapidly changing technology environment including the mass communication adapted guidelines. This research is a combination of qualitative and descriptive research. The population in this study included representative persons who have been working continuously in professional organizations in journalist, news editor, news anchor, public relations media, media academics and influencers. The methodology consist of depth interviews, analyze and synthesize data according to the principles. The research results were found that the role of mass communication to considered successful of the 20-year national strategy direct and indirect effects in 5 Issues. 1) National strategy for national competitiveness enhancement, creating diverse tourism. Mass media plays an important role in stimulating the economy for tourism as well as building awareness of sustainable and quality tourism. 2) National strategy for human capital development and strengthening, using media and mass communication to transform social values and culture and promoting human development at all stages of life. 3) National strategy for social cohesion and just society, supporting the development of an information network structure to provide people with accurate, modern and fast information access. Including raising awareness and creating social media responsibility 4) National strategy for eco-friendly development and growth, creating knowledge base on sanitation and prevention of emerging diseases, example COVID-19 that mass media plays an important role in building knowledge and understanding of epidemic guidelines. 5) National strategy for public sector rebalancing and development, citizens and associates. However, most academic groups and journalists have yet to see a detailed and concrete national strategic plan implementation. These plans should be clear and have a very short timeframe for use as a standard for governing mass communication.