Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี, (วปอ.9084)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวิกรม คัยนันท์, (วปอ.9084)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด าริ อ าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย นายวิกรม คัยนันทน์หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 เป็นที่ทราบกันอย่างดีมานานแล้วว่า ปัญหาพื้นฐานของประเทศไทยเกี่ยวข้องโดยตรงกับ เกษตรกรไทย เนื่องมาจากประชาชนส่วนใหญ่อยู่ในภาคการเกษตร ซึ่งปัญหาส่วนใหญ่นั้นจะเกี่ยวข้อง กับปัญหาของการขาดแคลนน้้า ที่ดินท้ากิน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และเกษตรกร ขาดความรู้พื้นฐานในการท้าการเกษตร ซึ่งในแต่ละภูมิภาคของประเทศก็มีปัญหา "เฉพาะ" แตกต่างกัน ไป มากบ้างน้อยบ้างไปตามสภาพทางภูมิสังคมของประเทศไทย และด้วยปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงมี พระราชด้าริให้จัดตั้ง "ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ" ขึ้น เพื่อให้เป็นสถานที่แหล่ง รวบรวมสรรพวิชาการ การศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และสาธิตทางด้านเกษตรกรรม เป็นระบบบริการ เบ็ดเสร็จที่จุดเดียว (one stop services ) เป็นเสมือน "พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติของการพัฒนาที่มีชีวิต (living natural museum)" โดยมีกิจกรรมการศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และขยายผลที่เป็น ความส้าเร็จสู่เกษตรกรและชุมชนในภูมิภาคนั้นได้ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่และภูมิภาค นั้น ๆ มีโอกาสได้เรียนรู้เทคนิค วิธีการแก้ปัญหาจากของจริง ณ สถานที่จริง ซึ่งได้จ้าลองสภาพ โดยรวมทางกายภาพของภูมิภาคนั้นที่น้ามาย่อส่วนไว้ที่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชด้าริ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2525 ให้พิจารณาด้าเนินการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ขึ้นที่บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าขุนแม่กวง อ้าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระราช ประสงค์ที่จะให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง แสวงหารูปแบบในการพัฒนาพื้นที่บริเวณต้นน้้าล้า ธารของภาคเหนือ เพื่อเป็น "ต้นแบบ" ในการพัฒนาลุ่มน้้าอื่น ๆ ในภูมิภาค โดยใช้ระบบชลประทาน เข้าเสริมการปลูกไม้ 3 อย่าง เพื่อให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและเน้นเรื่องการพัฒนาป่าไม้ในพื้นที่ต้น น้้าล้าธารให้สมบูรณ์เป็นหลัก และให้ปลายทางเป็นการศึกษาด้านประมงตามอ่างเก็บน้้า ซึ่งจากการ ด้าเนินการจัดการศึกษาและพัฒนาตามแนวพระราชด้าริ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อัน เนื่องมาจากพระราชด้าริ ประสบผลส้าเร็จสภาพพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นสถานที่ที่เป็นต้นแบบ แห่งความส้าเร็จ ที่ผู้คนให้ความสนใจเข้ามาเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ขอรับการฝึกอบรมและน้าความรู้ ไปปฏิบัติได้จริง การด้าเนินงานตามแผนแม่บทศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจาก พระราชด้าริฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2560 - 2564) ที่ผ่านมา ได้ด้าเนินการพัฒนาในด้านการจัดสรรทรัพยากร และติดตามประเมินผลตามแผนที่มีคุณภาพมุ่งหมายการด้าเนินงานร่วมกันสู่เป้าหมายการปฏิบัติได้ โดยการปรับปรุงการบริหารจัดการด้าเนินงาน จัดระบบข้อมูล ระบบประสานงาน ทบทวนงานศึกษาทดลอง วิจัย ที่ผ่านมาน้าไปสู่การขยายผล และด้าเนินงานวิจัยใหม่ ในการควบคุมดูแลของ คณะอนุกรรมการวางแผนแม่บทและติดตามประเมินผล ด้าเนินการขยายผลโดยการสาธิต การฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ รวมทั้งการส่งเสริมอาชีพ ก้าหนดจุดมุ่งหมายในการด้าเนินการ ร่วมกันตามแนวพระราชด้าริ มีการพัฒนาแบบองค์รวมที่มุ่งความส้าคัญกับการด้าเนินงานในเชิง คุณภาพเพื่อเป็นแหล่งความรู้ทางวิชาการที่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา ประชาชน หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนได้มาใช้บริการได้อย่างต่อเนื่อง และการด้าเนินงานแผนแม่บทฉบับที่ 6 (2565- 2569) ของศูนย์ฯ ซึ่งจะเป็นแผนแม่บทในการด้าเนินการในระยะต่อไป จะเป็นการด้าเนินการที่ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ที่เน้นให้ เกิด "การพัฒนาความอยู่ดีมีสุขของคนไทย ตลอดจนสามารถมีทรัพยากรธรรมชาติใช้ได้อย่างยั่งยืน ตลอดไป" ข้อเสนอแนะจากการวิจัยพบว่าการเริ่มต้นการจัดท้าแผนจากการเริ่มต้นจากการสอบถาม ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการ/กิจกรรมนั้นสามารถที่จะน้าแผนไปสู่ภาคของการปฏิบัติได้ อย่างสะดวกและจะพบความส้าเร็จได้อย่างดีมากกว่าที่จะใช้แผนงานโครงการที่ได้รับข้อสั่งการมาจาก ด้านบนของส่วนงานนั้นๆ

abstract:

Abstract Title Integrating knowledge in order to develop strategy for Huai Hong Khrai Royal Development Study Center, Doi Saket District, Chiang Mai Province, for supporting the 20-year national strategy Subject Strategy Researcher MR. VIROM GAYANANDANA, Thailand National Defence College NDC. 62 It has long been known that Thailand's fundamental problems are directly related to Thai farmers since the predominant Thais are in agricultural sector; as a result, most problems are related to lack of water and arable land, degradation of natural resources, and basic knowledge absence of agriculture among farmers. In addition to water and land shortage trouble, each region of Thailand has “specific” problems, and numbers of problems depend on geosocial conditions of Thailand. Due to troubles, His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great ambitiously established “the Development Study Center under Royal Project Foundation” to be a place for gathering academic research, study, experiment, and demonstration in agriculture as a one stop service system. In other words, “the Development Study Center under Royal Project Foundation” is a living natural museum. The center has continuous development activities and expands the results that are successful to farmers and communities in that region at any time. In order to provide farmers in that area and region having the opportunity to learn techniques and to solve reality problems at the actual place, replication of the overall physical condition of that region is scaled down. On December 11, 1982, His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great gave an initiative for considering in order to found Huai Hong Khrai Royal Development Study Center at Khun Mae Kuang National Reserved Forest, Doi Saket District, Chiang Mai Province. The objectives of this center are to be a center for experimental studies and search for patterns in order to develop of the upper reaches of the North as a "model" in the development of other watersheds in Northern region. By using the irrigation system to support the cultivation of 3 tree types, this system gives economic benefits, mainly focuses on the development of forests in the watershed areas, and provides a study on fisheries along the reservoir as the destination. Based on the implementation of educational and developmental arrangements in order to follow His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great’s initiative at “Huai Hong Khrai Royal Development Study Center”, this project was a success, and numerous trees are at the watershed areas; therefore, it is a model place of success that people pay attention to visit, get training, and obtain knowledge into practice. Based on Implementation of the Master Plan of “Huai Hong Khrai Royal Development Study Center”, No. 5 (2017 - 2021), it conducted development in the area of resource allocation, and followed up and evaluated according to the quality plan. Also, it aimed to work together towards actionable goals by improving operational management, organizing information, coordinating system, reviewing previous research studies in order to invent innovations, and conducting new research under the supervision of the Master Planning Subcommittee. For following up and evaluating results in order to broaden the results by demonstrating all training in theory, practice, and career promotion, the aim of the joint action according to the royal initiative is a holistic development in order to focus on quality operations as a source of academic knowledge to continuously service to farmers, students, citizens, public and private organizations. Next step, implementation of the Master Plan No. 6 (2022 - 2026) of the Center will be a master plan in the next phase. This master plan will be actions in line with the national strategic plan and the 12th National Economic and Social Development Plan that has emphasized "Improving the well-being of Thai people as well as being able to have natural resources sustainably used forever.” Research recommendations suggest that initiating a plan from the outset with inquiries from stakeholders to the project / activity can conveniently bring the plan into the sector of action and find the successful completion rather than implementing a project plan that is directed from the top of the segment.