Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ “สังคมผู้สูงอายุไทย” ภายใต้ทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ.๒๐๒๐ - ๒๐๓๐, (วปอ.9074)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ, (วปอ.9074)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ “สังคมผู้สูงอายุไทย” ภายใต้ทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐ – ๒๐๓๐ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย นางสาว แรมรุ้ง วรวัธ หลักสูตร วปอ. รุ่น ๖๒ การวิจัย การขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ “สังคมผู้สูงอายุไทย” ภายใต้ทศวรรษ การพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐ - ๒๐๓๐ เป็นการวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายและ แนวทางใหม่ในการขับเคลื่อนสังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย ผ่านการศึกษาสถานการณ์การด าเนินงาน ตามมาตรการขับเคลื่อน ระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง “สังคมสูงอายุ”ของประเทศไทยและ สหประชาชาติที่มีอยู่ในปัจจุบัน และวิเคราะห์ปัญหาการด าเนินงานตามมาตรการขับเคลื่อน ระเบียบ วาระแห่งชาติ เรื่อง “สังคมสูงอายุ” ของประเทศไทยกับกรอบทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐ – ๒๐๓๐ โดยการวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบด้วย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ จากในทุกระดับ ทั้งในระดับประเทศ ระดับหน่วยงาน ระดับพื้นที่ และระดับสากล จ านวน ๘๐ คน ควบคู่ไปกับการศึกษาเอกสาร สนทนากลุ่มย่อย ถอดบทเรียนวิธีปฏิบัติที่ดี และการสัมภาษณ์ผู้ที่ เกี่ยวข้อง อาทิ ผู้บริหารที่ก ากับดูแลงานด้านผู้สูงอายุและผู้เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุ ผลการศึกษาจากการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า ๑. สถานการณ์การด าเนินงานตามมาตรการ ขับเคลื่อน ระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง “สังคมสูงอายุ” ของประเทศไทยและสหประชาชาติที่มีอยู่ ในปัจจุบัน พบว่า การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็วของทั่วโลก ประชากรมีแนวโน้มในการมีอายุ ยืนยาวมากขึ้น หลายประเทศทั่วโลกเกิดความตระหนักในการเตรียมความพร้อมและขับเคลื่อนการ เข้าสู่สังคมสูงวัย ภายใต้กรอบ “ทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐ – ๒๐๓๐” โดยมีการ ก าหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันว่า “โลกที่ทุกคนสามารถมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพที่ดี” (A world in which everyone can live a long and healthy life) (สมัชชาอนามัยโลก, ๒๕๕๙) โดยองค์การ สหประชาชาติ เป็นหน่วยงานหลักในการก าหนดกรอบแนวคิดและกลยุทธ์หลักของการพัฒนา สุขภาวะของผู้สูงอายุอย่างมีความสอดคล้องไปกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals หรือ SDGs) ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ โดยมีจ านวน สัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอย่างต่อเนื่อง คาดว่าในปี ๒๕๘๐ จะมีจ านวนผู้สูงอายุคิดเป็น ร้อยละ ๓๐ ของประชากรทั้งประเทศ จึงได้มีการให้ให้ความส าคัญในการเตรียมความพร้อมรองรับ สังคมผู้สูงอายุ มีการก าหนดเป็นวาระแห่งชาติในปี พ.ศ.๒๕๖๑ โดยบูรณาการการท างานระหว่าง หน่วยงาน ๖ กระทรวงหลัก ภายใต้กรอบการพัฒนาที่ยังยืน (SDGs) ๒. วิเคราะห์ปัญหาการ ด าเนินงานตามมาตรการขับเคลื่อน ระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง “สังคมสูงอายุ” ของประเทศไทย กับกรอบทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐ – ๒๐๓๐ พบว่า (๑) ในระดับประเทศ โครงสร้างของระบบราชการซึ่งยังด าเนินงานแบบแยกส่วนตามภารกิจ (๒) ในระดับบุคคล ประเทศไทย ยังมีปัญหาส าคัญหลักด้านผู้สูงอายุ ได้แก่ ด้านสุขภาพและศักยภาพในการช่วยเหลือตนเองของ ผู้สูงอายุ ซึ่งมีผู้สูงอายุที่ตกอยู่ในภาวะช่วยเหลือตนเองไม่ได้มากถึงร้อยละ ๕ โดยเฉพาะผู้สูงอายุข วัยปลายที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ร้อยละ ๑๙ ด้านฐานะยากจน การขาดรายได้ของผู้สูงอายุ ที่ไม่เพียงพอต่อการด ารงชีพ ด้านครอบครัวที่มีขนาดเล็กลง ผู้สูงอายุต้องอาศัยเพียงล าพัง ขาดผู้ดูแล ด้านสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและปลอดภัย และ ๓) ในระดับพื้นที่ข้อมูลประชากรสูงอายุในระดับ พื้นที่ยังไม่ครอบคลุมและเป็นปัจจุบัน ยังขาดการบูรณาการกับหน่วยงานส่วนกลาง รวมถึง ข้อกฎหมายที่ยังไม่เอื้อต่อการด าเนินงานในระดับท้องถิ่นในการดูแลคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น และยังไม่มีการกระจายอ านาจไปสู่หน่วยงานในระดับท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานระดับปฏิบัติในการ ดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกมิติ ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์พบว่า ในระดับสากลและในระดับประเทศ ยังมีประเด็นข้อท้าทายในการด าเนินงานด้านผู้สูงอายุที่มีความน่าสนใจและขับเคลื่อนให้บรรลุตาม เป้าหมาย ๓. ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางใหม่ในการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ “สังคม ผู้สูงอายุไทย” ภายใต้ทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐ – ๒๐๓๐ พบว่า มีความ พยายามอย่างยิ่งในการก าหนดแนวทางการขับเคลื่อน “ทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ. ๒๐๒๐-๒๐๔๐” ทั่วโลกควบคู่กับการขยายการบูรณาการความร่วมมือระหว่างกัน รวมไปถึงความ ร่วมมือในระดับประเทศจากแต่ละภูมิภาค มีหลายประเด็นหลักที่มีความสอดคล้องกับแนวทางการ ขับเคลื่อนสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ได้แก่ การก าหนดแนวทางการขับเคลื่อนการด าเนินงาน แบบองค์รวมที่มีการบูรณาการการด าเนินงานร่วมกันในทุกระดับและทุกมิติ : ทั้งมิติเศรษฐกิจ มิติ สภาพแวดล้อม มิติสุขภาพ มิติสังคมและชุมชน อีกทั้งยังมีการความส าคัญในมิติเทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้วย โดยมีการด าเนินการในประเด็นเร่งด่วน เช่น การส่งเสริมการท างานของผู้สูงอายุตาม แนวคิด Active Ageing ที่เน้นการมีส่วนร่วมและการท างานเชิงบูรณาการร่วมกัน การขับเคลื่อน ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาว (Long Term Care) ในระดับชุมชน การศึกษาวิจัยนี้ มีข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางใหม่ในการขับเคลื่อนสังคมผู้สูงอายุ ในประเทศไทยข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางใหม่ในการขับเคลื่อนสังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย ๔ ระดับ คือ (๑ (ระดับสากล สหประชาชาติ) และภูมิภาคเอเชีย (รัฐควรบันทึกข้อตกลง (MOU) ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน UN ที่เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงสร้างการมี ส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ มีการน าเทคโนโลยี นวัตกรรมมาใช้เพื่อเป็น เครื่องมือในการด าเนินงานร่วมกันระหว่างทุกกลุ่ม การน ากรอบ Thailand 4.0 มาต่อยอดการพัฒนา ผู้สูงอายุในยุคปัจจุบัน การจัดท าฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ การก าหนดประเด็นเร่งด่วนเพื่อการ ขับเคลื่อนในประเทศ การพัฒนาชุมชนเพื่อเป็นหลักในการให้บริการสุขภาพระยะยาวในชุมชนตนเอง ร่วมกัน การพัฒนาระบบการติดตาม ประเมินผล การสนับสนุนที่เป็นระบบเปิดชัดเจน และเป็น รูปธรรม เพื่อเป็นการยกระดับการท างานร่วมกันอย่างครบวงจร (๒ ระดับนโยบาย (รัฐควรน ากรอบ แนวทาง กลยุทธ์ของทศวรรษการพัฒนาสุขภาวะสากล ค.ศ.๒๐๒๐ – ๒๐๓๐ ด าเนินการส าเร็จเป็น รูปธรรมมาปรับใช้ โดยก าหนดเป็นนโยบายให้เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย (๓ (ในระดับบุคคล ควรยึดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลางของการให้บริการ และ (๔ (ระดับชุมชนหรือในระดับพื้นที่ รัฐต้องมีการ ก าหนดนโยบาย แนวทาง มาตรการ วิธีการเกี่ยวกับการถ่ายโอนอ านาจ ทรัพยากร การบริหารจัดการ ด้านผู้สูงอายุแบบองค์รวมสู่หน่วยงานในระดับพื้นที่อย่างชัดเจน

abstract:

Abstract Title Mechanism to Drive National Agenda “Thai Healthy Ageing” Aligned with The Decade of Healthy Ageing (2020 - 2030) Field Social – Psychology Name Ms. Ramrung Worawat Course : NDC Class : 62 The research of Mechanism to Drive National Agenda “Thai Healthy Ageing” Aligned with the UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030” is the research for development aims to propose the holistic ageing policy of Thailand under its “Ageing National Flagship in 2020”. The objectives are : 1) to study the implementation’s situation of the “Thai Healthy Ageing” aligned with the “UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030”; 2) to study the implementation’s problems and its analysis of “Thai Healthy Ageing” aligned with the “UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030”; and 3) to propose more effective policy and mechanism to drive “Thai Healthy Ageing” aligned with the “UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030”. This qualitative research consisted of 80 key informants from all levels : national, regional and international. The document studies, focus group discussion, best practices analysis, and interviews were used. Results are as follows: 1) the implementation’s situation of the “Thai Healthy Ageing” aligned with the “UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030” found that the UN has its tangible mission with "a world in which everyone can live a longer and healthy life" which is in line with Thailand’s national falgship “Thai Healthy Ageing 2020” followed by working integratly among all relevant partners such as the Ministry of Interior, Ministry of Labor, Ministry of Social Development, and Human Security, Ministry of Education aligned with the Sustainable Development Goals’ framework (SDG). 2) the implementation’s problems and its analysis of “Thai Healthy Ageing” aligned with the “UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030”found more tangible technology and innovation used especially the UN ageing platform while Thailand still has its fundamental ageing database which still less able to poll all relevant information among all partners to work and to communicate more effectively too; and 3) to propose more effective policy and meanchanism to drive “Thai Healthy Ageing” aligned with the “UN Decade of Healthy Ageing 2020-2030” found more tangible mechanisms and collabollartions from all lelvels in driving “Healthy Ageing” globally which is in line with “Thai Healthy Ageing” such as the integrated and holistic mechanism in working and collabolating among all ageing ง dimensions: economics, environment, healths, social, and more on ICT dimensions along with its urgently set up the Technology Committee of Ageing; drving more on the misión of “Active Ageing” with integrated participation among all partners; and also driving more on “long term care system” at the community level respectively.