เรื่อง: แนวทางการพัฒนาศักยภาพกำนันและผู้ใหญ่บ้าน เพื่อรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี, (วปอ.9072)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายรณรงค์ นครจินดา, (วปอ.9072)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพก านันและผู้ใหญ่บ้านเพื่อรองรับการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายรณรงค์ นครจินดา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพก านัน และผู้ใหญ่บ้านเพื่อรองรับการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน
ของก านัน และผู้ใหญ่บ้าน 2) เพื่อวิเคราะห์ความสามารถของก านัน และผู้ใหญ่บ้าน 3) เพื่อเสนอแนะแนว
ทางการพัฒนาศักยภาพของก านันและผู้ใหญ่บ้าน และมีของเขตของการวิจัย คือ1) ศึกษาวิจัยเฉพาะห้วง
เดือนธันวาคม 2562 ถึงเดือนพฤษภาคม 2563 เท่านั้น 2) ศึกษาวิจัยเฉพาะการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ.2561–2580) เท่านั้น 3)ศึกษาวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิที่ก าหนดเท่านั้น
โดยด าเนินการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพร่วมกับการวิจัยเชิงพรรณนา
มีผลศึกษาวิจัย สรุปได้ดังนี้1) ผลการวิเคราะห์ปัญหาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
ในระดับต าบลหมู่บ้าน ได้แก่ 1.1) ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมีโอกาสแสดงความคิดเห็นหรือ
มีส่วนร่วมในการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติไม่มากเท่าที่ควร 1.2) ไม่มีกลไกการผลักดันหรือการบูรณาการ
ขับเคลื่อนในระดับพื้นที่จังหวัด อ าเภอ ต าบล หมู่บ้าน หรือการมีส่วนร่วมของประชาชน 1.3) ขาดการบูรณาการ
เกี่ยวกับการจัดเวทีประชาคมและขาดการสนับสนุนข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ปัญหาความต้องการ
ของพื้นที่ 2)ผลการวิเคราะห์ปัญหาการเพิ่มขีดความสามารถของก านัน และผู้ใหญ่บ้าน ได้แก่ 2.1) ไม่มีการ
ปฐมนิเทศให้แก่ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ท าให้ขาดประสิทธิภาพการท างานอย่างชัดเจน 2.2) การฝึกอบรม
หลักสูตรก านัน ผู้ใหญ่บ้าน มีเป้าหมายเพียงร้อยละ 10 ของจ านวนก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่มีอยู่เท่านั้น
2.3) ขาดการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติให้แก่ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน
2.4)การศึกษาต่อตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บางจังหวัด
มีผู้สนใจเข้าสมัครเรียนไม่มากและขาดการอุดหนุนเป็นทุนการศึกษาในสถาบันการศึกษาของรัฐอื่น ๆ
2.5) ในการจัดท าแผนพัฒนารายบุคคลยังไม่ให้ความส าคัญกับขั้นตอนการเลือกวิธีการพัฒนา
เท่าที่ควร
มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ได้แก่ 1.1) รัฐควรเพิ่มเติมกลไกการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติในระดับต าบล หมู่บ้าน 1.2) รัฐควรจัดให้มีการปฐมนิเทศแก่ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน
ที่ได้รับเลือกเข้ามาด ารงต าแหน่งครั้งแรกโดยเร็ว 1.3) ควรเพิ่มเป้าหมายการฝึกอบรมหลักสูตรก านัน
ผู้ใหญ่บ้าน เป็นปีละไม่น้อยกว่าร้อยละ 20ของจ านวน ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน 1.4) ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการจัดท าหรือปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน แผนพัฒนาต าบล 1.5) ควรสนับสนุน
เป็นท ุนการศึกษาให้แก ่ ก านัน ผู้ใหญ ่บ้าน เช ่นเดียวกันกับการศึกษาตามหลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และ 2) ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ โดยควรด าเนินการวิจัยภาพรวมของ
กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลของ ก านัน และผู้ใหญ่บ้าน ทั้งก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่
ขณะปฏิบัติหน้าที่และภายหลังจากการปฏิบัติหน้าที่
abstract:
Abstract
Title Guidelines for Developing Potential of Sub-District Headmen and Village
Headmen for Supporting the 20-Year National Strategy Driving
Field Politics
Name Mr. Ronnarong Nakornjinda Course NDC Class 62
The objectives of this research on Guidelines for Developing Potential of
Sub-District Headmen and Village Headmen for Supporting the 20-Year National
Strategy Driving are as follows: 1) to study the problems affecting the operations of
sub-district headmen and village headmen; 2) to analyze the abilities of sub-district
headmen and village headmen; 3) to propose the guidelines for developing potential
of sub-district headmen and village headmen. The scope of research is as
follows: 1) The research was conducted from December 2019 to May 2020
only; 2) The research was conducted to study the 20-Year National Strategy (B.E.
2561-2580) driving only; 3) The research was conduct through documentary research
and in-depth interview with defined qualified persons only. The research was
conducted in the form of qualitative research and descriptive research.
The results could be concluded as follows: 1) The results of analysis on
problems on National Strategy driving in sub-district and village levels: 1.1) Most
populations of Thailand had insufficient opportunities to express their opinions or
participate in establishment of National Strategy; 1.2) There was no driving
mechanism or driving integration in provincial, district, sub-district, and village
levels or participation of populations; 1.3) There was the lack of integration on
community stage organizing and support of information for analyzing on local
demands and problems; 2) The results of analysis on problems on competency
enhancement of sub-district headmen and village headmen were: 2.1) There was no
orientation provided to sub-district headmen and village headmen leading to the
lack of operational efficiency; 2.2) Sub-District Headmen and Village Headmen
Training Program was aimed to be provided to 10% of total number of sub-district
headmen and village headmen only; 2.3) There was the lack of knowledge and
understanding on National Strategy driving provided to sub-district headmen and
village headmen; 2.4) In some provinces, there was only a few people interested
in continue their study in Bachelor of Public Administration Program ofSukhothai
Thammathirat Open University and there was the lack of scholarship support in other
government universities; 2.5) The procedure on selection of development methods
was not emphasized in establishment of individual development plan.
Suggestions are as follows:1)Policy suggestions were :1.1)The government
should add National Strategy driving mechanism in sub-district and village
levels; 1.2) The government should provide orientation to firstly elected sub-district
headmen and village headmen as soon as possible; 1.3) The target number of subdistrict headmen and village headmen of Sub-District Headmen and Village Headmen
Training Program should be increased to be not less than 20% of total number of
sub-district headmen and village headmen per year;1.4)Knowledge and understanding on
establishment or amendment of village and community development plans and
sub-district development plans should be built;1.5)There must be some educational
scholarships for supporting sub-district headmen and village headmen as same as
education under programs of Sukhothai Thammathirat Open University ;
and 2) For academic suggestions, there should be further researches on overview of
human resources management process of sub-district headmen and village headmen
before, during, and after performing their duties.