เรื่อง: การคุ้มครองสวัสดิภาพคดีผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว, (วปอ.9062)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางมณฑิรา ศิลปศร เชื้ออินทร์, (วปอ.9062)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การคุ้มครองสวัสดิภาพคดีผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางมณฑิรา ศิลปศร เชื้ออินทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ส าคัญ 3 ประการ คือ ประการแรกเพื่อศึกษาสภาพทั่วไป
และการด าเนินการใช้สิทธิร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพของผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประการที่สองเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาที่ส าคัญในการขอขอคุ้มครอง
สวัสดิภาพแก่ผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัวตามกฎหมาย และประการสุดท้ายเพื่อศึกษา
หาแนวทางพัฒนาการบังคับใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพผู้ถูกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัวได้
อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีด าเนินการวิจัยดังกล่าวเป็นแบบการวิจัยเชิงคุณภาพหรือการวิจัยจากเอกสาร
ร่วมกับการวิจัยเชิงพรรณนาด้วยการรวบรวมข้อมูล, วิเคราะห์ข้อมูลและน าเสนอข้อมูล ซึ่งข้อมูลที่ใช้
มีทั้งข้อมูลปฐมภูมิจากการศึกษาค้นคว้าต าราและเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลทุติยภูมิโดย
การสัมภาษณ์บุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ส าคัญกับงานของศาลเยาวชนและครอบครัว
จากการศึกษาวิจัยสภาพปัญหาพบว่า แม้ผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงมักไม่เต็มใจที่จะไป
แจ้งความเกี่ยวกับเหตุความรุนแรงในครอบครัวต่อเจ้าพนักงานต ารวจ อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีช่องทาง
ที่จะร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพจากศาลเยาวชนและครอบครัวได้ นอกจากนี้ตัวบทกฎหมายยังมี
ข้อจ ากัด เนื่องจากพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 สามารถปรับใช้ได้กับบุคคลที่มีอายุต่ ากว่า
18 ปีบริบูรณ์เท่านั้น ทั้งมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัวยังขาด
วิธีการที่จะแก้ไขฟื้นฟูและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้กระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว
โดยเฉพาะถ้าผู้นั้นเป็นญาติหรือผู้ปกครองของผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงเสียเอง ผู้วิจัยจึงขอ
เสนอแนะแนวทางพัฒนาการบังคับใช้มาตรการคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัวทั้ง
ในส่วนของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง, ส านักงานศาลยุติธรรม และสังคมให้เข้ามามีบทบาทส าคัญ
ในการแก้ไขนี้
abstract:
Abstract
Title Protection of the welfare of cases of domestic violence victims.
Field Social-Psychology
Name Mrs. Montira Sillapasorn Chaa-Intra Course NCD Class 62
This research has three important objectives. The first one is to study of
general situation and welfare protection of domestic violence victims from the past
to the present. The second one is to study and analyse legal issues on welfare
protection of domestic violence victims. The last one is to study how to develope
welfare protection measure efficiently. it is a qualitative research or documentary
research together with descriptive research by means of data collecting, analysis and
presentation. The data comprise primary data from texts and documents, and
secondary data from interview.
The research results are as follows. 1) The victims are reluctant to report
domestic violence to the police however they can seek welfare protection from the
juvenile and family court. 2) There is a limitation of legal provision because the Child
protection law can apply to only person under eighteen. 3) Welfare protection measure
lacks methods to rehabilitate and change the accused's behavior, particularly if they
are victim's cousin or parents. 4) As part of recommendation, the concerned government
agencies, the Thai Judiciary office and society should take a key role in solving these
above problems.