Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการใช้บทเพลงปลูกฝังเด็ก เยาวชน ให้รักชาติ, (วปอ.9052)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.ต.อ. ไพรัตน์ ไพพรรณรัตน์, (วปอ.9052)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการใช้บทเพลงปลูกฝังเด็ก เยาวชน ให้รักชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พันต ารวจเอก ไพรัตน์ ไพพรรณรัตน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 การศึกษาเรื่อง แนวทางการใช้บทเพลงปลูกฝังเด็ก เยาวชน ให้รักชาติมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการใช้บทเพลงในการปลูกฝังเด็กเยาวชนให้รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ของโรงเรียน ในปัจจุบัน 2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการน าบทเพลงไปใช้ในโรงเรียน 3) เสนอแนวทางการใช้ บทเพลงในการปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาต ารา หลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนอนุบาลถึงประถมศึกษา และสัมภาษณ์ครูสอนดนตรีกับ ผู้ปกครองเฉพาะเขตการศึกษาภาคกลางระดับชั้นอนุบาล 10 แห่ง ระดับชั้นประถม 10 แห่ง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Context Analysis) และการวิเคราะห์เปรียบเทียบ และ สังเคราะห์ข้อมูลทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้บทเพลงในการสร้างส านึกให้เด็กเยาวชนรักษาชาตินั้น บทเพลงที่ใช้เป็นเพลงลักษณะปลุกใจ เพราะเพลงปลุกใจมีพลังส าคัญท าให้คนฟังรู้สึกคึกคัก ให้รู้สึก รักชาติสามารถให้อารมณ์ละเมียดละไมฟังแล้วเกิดอารมณ์คล้อยตามได้ 2) บทเพลงการเสนอบทเพลง ในแนวเพลงสร้างส านึกมีองค์ประกอบที่ส าคัญประกอบด้วยคีตกวีคือผู้เสนอความคิด จินตนาการ อารมณ์ และความรู้สึก ประกอบขึ้นเป็นเนื้อร้อง ท านอง แล้วน ามาบรรเลงด้วยเครื่องดนตรี 3) สถานศึกษาต่างๆ ทั้งระดับอนุบาล-ประถม-มัธยม-รวมถึงผู้ปกครองเด็กที่เป็นประชาชนโดยทั่วไปและ ส่วนราชการจะเปิดรับสื่อและใช้สื่อที่เป็นบทเพลงปลุกใจในการสร้างส านึกให้คนรักชาตินั้น จะใช้ เปิดรับบทเพลงที่มีคุณลักษณะคือใช้บทเพลงที่มีท านองไพเราะเสนาะหูและมีความหมายที่ดี ข้อเสนอแนะ 1) ระดับนโยบาย ก าหนดนโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุก ช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงทุก ๆ ช่วงวัย ก าหนดให้มีการจัดกิจกรรมด้านจิตสาธารณะ โดยก าหนดให้ มีการใช้บทเพลงที่สร้างส านึกรักชาติมาเป็นสื่อในการสร้างส านึกในกิจกรรมวันส าคัญต่าง ๆ ของ ประเทศ 2) ระดับปฏิบัติการ บูรณาการสถานศึกษาทั่วประเทศให้มีการน าบทเพลงปลูกฝังเด็กและ เยาวชนมาใช้ในการเรียนการสอน การท ากิจกรรมเคลื่อนไหว ตามเสียงเพลงและเสียงดนตรีให้เป็นไป ตามแนวทางเดียวกันต่อไป 3) เพื่อใช้ในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาวิจัยด้านการสนับสนุนการ สร้างบทเพลงที่สร้างสรรค์สังคม และการปลูกฝังจิตใจคนตั้งแต่ปฐมวัยถึงทุกช่วงวัย “. .ศิลปะการดนตรี การเพลง การแสดงนั้นเป็นสิ่งที่ส าคัญ ส าหรับบุคคลทุกคนจะเป็น ในประเทศไทยหรือต่างประเทศที่ไหนก็ตาม ก็ถือว่าดนตรีคือการแสดง ถือว่าเพลงเป็นส่วนส าคัญ เพราะเป็นการแสดงออกมาซึ่งจิตใจ ที่มีอยู่ในตัว จิตใจนั้นจะมีอย่างไร เพลงหรือการแสดงดนตรี หรือ การแสดงภาพยนตร์ แสดงละคร ก็ได้แสดงออกซึ่งความคิด หมายถึง ความดีที่มีอยู่ในตัวได้ทั้งนั้น. . .” พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่คณะกรรมการประกวนเพลงแผ่นเสียงทองค า ศิลปิน นักแสดง นักวิชาการประกวดภาพยนตร์ คณะกรรมการจัดงานประกวดภาพยนตร์ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวัง ดุสิต เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2518

abstract:

Abstract Title Guidelines for using songs to instill children and youth to love the Country Field Social-Psychology Name Pol.Col. Phairat Phaiphannarat Couse NDC Class 62 The study of guidelines for using songs to instill children and youth to love the country aimed to 1) study the use of songs to instill children and youth to love the country, religions and monarchy of schools at present, 2) study problems and obstacles in the implementation of the song in schools and 3) proposed guidelines for the use of songs in instilling children and youth to love the country, religions and monarchy. Researcher had collected information from the study of textbooks, the curriculum of school from kindergarten to primary school, including interview with the music teachers and parents from 10 kindergartens and 10 elementary schools in the Central Educational Service Area. Data were analyzed by using content analysis and comparative analysis and synthesized relevant theoretical information. The research results were summarized as follows. The results of the research were as follows: 1 ) using songs to create awareness for children and youth to love the country, should be a soul-stirring song that could arouse people to feel energetic and patriotic causing a compliant mood, 2 ) the presentation of the songs to create awareness, consisted of an important component namely a composer, that was the one who proposed an idea, emotional imagination and feeling made up of lyrics, melodies and then played with an instrument, 3 ) educational institutions all kindergarten - elementary - high school - including parents and children who were the public and government agencies will expose to the song with a sweet melody and a good meaning. The researcher had suggested that 1) policy level, set a policy for human resource development from early childhood to all ages, forming public mind activities and using soul-stirring song as a medium to create a patriotic awareness in the important activities of the country, 2) operational level, integrate educational institutions across the country to use soul-stirring music to instill children and youth in their teaching and learning, doing movement activities with music to follow the same guidelines, 3) for future research use, there should be research on supporting the creation of social constructive songs and implanting the minds of people from early childhood to all ages.ง “. . The art of music and performance were important for every individual, being in Thailand or foreign countries, wherever. Considered music as a performance and took music as an important part. Because it expresses the mind, in ourselves. How will that mind be? Music or musical performance or movies or theatrical performances, which could express the ideas. It meant goodness that exists in them all..” The Royal Guidance of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej bestowed upon Committees of Golden gramophone Contest, Artists, Actors, Academic Film Contest and Film Contest Organizing Committee at Dusidalai pavilion on July 9th, 1975.