เรื่อง: กำหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีจังหวัดสตูล, (วปอ.9042)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายพิทักษ์สิทธิ์ ชีวรัฐพัฒน์, (วปอ.9042)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การก าหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้
กรณีจังหวัดสตูล
ลักษณะวิชายุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายพิทักษ์สิทธิ์ ชีวรัฐพัฒน์ หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 62
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1. เพื่อเพื่อศึกษานโยบายการป้องกันปัญหาความไม่สงบ
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีจังหวัดสตูล 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการก าหนดนโยบาย
การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีจังหวัดสตูล และ 3. เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้กรณีจังหวัดสตูล เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูล
ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informant) บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการแก้ไข
ปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ผู้น าศาสนา ผู้น าชุมชน ผู้น าภาคธุรกิจ จ านวน 5 คน
ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. สภาพปัญหาความแตกต่างระหว่างจ านวนผู้นับถือศาสนา
อิสลามและศาสนาพุทธจังหวัดชายแดนภาคใต้สภาพปัญหาความแตกต่างระหว่างจ านวนผู้นับถือ
ศาสนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. ปัญหาความแตกต่างด้านเศรษฐกิจ สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเฉพาะเขตจังหวัดสงขลาส่งผลกระทบโดยตรงทางเศรษฐกิจกับจังหวัดสตูล
3. ปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานไปท างานในประเทศมาเลเซีย การขาดแคลนแรงงานภายในประเทศ
4. มีการรวมตัวจัดตั้งเป็นขบวนการเพื่อก่อการร้าย กระท าที่รุนแรงต่อสร้างความหวาดกลัว
มีเป้าหมายหรือแรงจูงใจทางการเมือง 5. นโยบายไม่สอดคล้องกับความต้องของประชาชน การขาด
การมีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบายในพื้นที่ 6. การจัดท านโยบายการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ
จังหวัดชายแดนภาคใต้และจังหวัดสตูลต้องมีบุความชัดเจนเพื่อวัตถุประสงค์การแก้ไขปัญหาความ
ไม่สงบ และการพัฒนาพื้นที่ 7. เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความเห็นอย่างกว้างขวาง
จากประชาชนในพื้นที่อย่างรอบด้าน
ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่า 1. รัฐจะต้องมีแผนแม่บทเป็นกรอบการด าเนินงานแก้ไขปัญหา
ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นการเฉพาะ 2. ลดเงื่อนไขในการก่อความไม่สงบโดยการ
ยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างบรรยากาศความสมานฉันท์3. การแก้ไขนโยบายการบริหารราชการแบบ
บูรณาการกลุ่มจังหวัดให้จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลากลับมาอยู่กลุ่มชายแดนภาคใต้4. การจัดตั้ง
เขตพิเศษเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้
abstract:
Abstract
Title : Policy Making to Solve the Problem of Unrest in the Southern
Border Provinces: a Case Study of Satun Province
Filed : strategic
Name : Mr. Pitaksit Chivarattapat Course NDC Class 62
The objectives of this research were 1. to study policies to prevent the
problem of unrest in the southern border provinces in the context of Satun Province;
2. to study factors that influence the setting of policies to solve the problem of unrest
in the southern border provinces from the perspective of Satun Province; and 3. to
recommend approaches to solving the problem of unrest in the southern border
provinces from the point of view of Satun Province. This was a qualitative research.
Data were collected through in-depth interviews with 5 key informants, comprising
people involved with solving the problem of unrest in the southern border provinces,
religious leaders, community leaders, and representatives of the business sector.
The research revealed the following components of the situation :
1. in the southern provinces there is a large difference in the number of citizens who
are Muslim and who are Buddhist. 2. There are differences in economic status, and
the problem of violence in the south, especially in Songkhla Province, has directly
affected the economy of Satun Province. 3. Many people go to work as migrant
workers in Malaysia, and there is a shortage of labor in the domestic market. 4. There
is a movement of terrorist operatives who band together to plan violent acts and
create an atmosphere of fear for political objectives or motivations. 5. The current
policies are not compatible with the needs of the people because the public was
not invited to participate in the local policymaking process. 6. The policy to solve
the problem of unrest in the southern border provinces and Satun needs to have
clearly stated objectives to stop unrest and develop the area. 7. All the people in
every sector should be given the opportunity to participate and share their opinions.
The researcher recommends : 1. the government should have a master
plan specifically aimed at ending the problem of unrest in the southern border
provinces. 2. The conditions that lead to unrest should be defused by raising the quality
of life and building an atmosphere of peaceful cooperation. 3. The administrative
structure should be reformed to make Satun Province and Songkhla Province part of the
group of southernmost provinces. 4. A special economic zone should be established
for the southernmost provinces.