เรื่อง: ทัศนคติของประธานชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ต่อรูปแบบวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐, (วปอ.9024)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายปริญญา โพธิสัตย์, (วปอ.9024)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ทัศนคติของประธานชมรม ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ต่อรูปแบบวิธีการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายปริญญา โพธิสัตย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
การวิจัยนี้เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงทัศนคติของประธานชมรมก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ต่อรูปแบบ
วิธีการเลือกตั้ง ส.ส. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ รวมถึงศึกษาวิเคราะห์บทบาท
อ านาจหน้าที่ของก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการส่งเสริมให้ประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้ง สภาพปัญหาและ
อุปสรรคที่ส่งผลต่อการเลือกตั้ง ส.ส. ค้นหาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบวิธีการเลือกตั้ง ส.ส.ตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ โดยก าหนดให้ประธานชมรมก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ด้วย
เหตุผลส าคัญ ๓ ประการ คือ ๑) เป็นตัวแทนอ านาจรัฐในระดับท้องที่ ต าบลหมู่บ้าน ๒) เป็นตัวแทนของ
ประชาชนที่มีหน้าที่น านโยบายของรัฐลงสู่พื้นที่และน าเสนอความคิดเห็นความต้องการของประชาชน
ระดับพื้นที่สู่ภาครัฐหรือราชการ ๓) เป็นผู้น าของประชาชนในพื้นที่ ทั้งอย่างเป็นทางการและตาม
ธรรมชาติโดยเฉพาะการสนับสนุนการเลือกตั้งทุกระดับ การวิจัยครั้งนี้ก าหนดขอบเขตเฉพาะรูปแบบ
วิธีการเลือกตั้งที่ก าหนดไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ เท่านั้น
วิธีด าเนินการ ใช้การศึกษาวิจัยจากเอกสาร (Ducumentry Research) เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพโดยอาศัยการศึกษาวิจัยเอกสาร ทั้งเอกสาร ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ประกอบกับ
การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depthinterview) แบบกึ่งมีโครงสร้างการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคสนาม
จากพื้นที่จริง เพื่อใช้เป็นข้อมูลปฐมภูมิในภาคต่างๆ ทั่วประเทศ จ านวน ๖๐ คน โดยใช้วิธีการสุ่ม
ตัวอย่าง ตามวัตถุประสงค์ (Purposive Sampling) จากประธานชมรมก านัน ผู้ใหญ่บ้านอ าเภอ การ
ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสาร โดยวิเคราะห์เนื้อหาเปรียบเทียบและสังเคราะห์
ข้อมูลแนวคิด ทฤษฎี และหลักการต่างๆ
ผลการวิจัยพบว่า ประธานชมรมก านัน ผู้ใหญ่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจในรูปแบบค่อนข้างดี
โดยมีทัศนคติดังนี้ ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการใช้บัตรเลือกตั้ง ๑ ใบ การใช้ระบบแบ่งเขต ๓๕๐ เขต สส. ๑
คนต่อ ๑ เขตเลือกตั้ง ก าหนดให้ประชาชนมีสิทธิเลือกได้ ๑ เสียง ให้ผู้ได้คะแนน สูงสุดในเขตเลือกตั้งเป็นผู้
ชนะการเลือกตั้ง การเลือก ส.ส.บัญชีรายชื่อ เห็นด้วยที่ให้น าจ านวนผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งทั่วประเทศไม่รวมบัตร
เสียเป็นตัวตั้งหารด้วยจ านวน ส.ส. ๕๐๐ ได้ค่าเฉลี่ยของจ านวนคะแนนเสียงต่อ ส.ส. ๑ คน น าจ านวน ส.ส.
ที่พรรคการเมืองพึ่งจะมีมาลบด้วยจ านวน ส.ส.เขตทั้งหมดที่พรรคนั้นได้รับเลือกเป็นจ านวน ส.ส.บัญชี
รายชื่อของพรรคนั้น ไม่เห็นด้วยที่จะน าคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองหนึ่งในระบบเขตเป็น
ตัวตั้งแล้วหารด้วยค่าเฉลี่ยของคะแนนเสียงต่อ สส. ๑ คน
ส าหรับปัญหาอุปสรรคที่ส่งผลต่อการด าเนินการเลือกตั้ง ประเด็นส าคัญพบว่าการ
สื่อสารประชาสัมพันธ์ ยังไม่สามารถท าให้ประชาชนเข้าใจวิธีคิดคะแนนแบบสัดส่วนได้พอเพียง ทั้งนี้
ผู้วิจัยได้ท าข้อเสนอในการ พัฒนารูปแบบวิธีการเลือกตั้งในส่วนของการค านวณที่มาของ ส.ส.แบบ
บัญชีรายชื่อไว้ในเอกสารวิจัยไว้ด้วยแล้ว
abstract:
Abstract
Title : Subdistrict headman and village headman club president’s attitude
towards the House of Representatives election methods under the
Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017)
Field : politics
Name: Mr. Parinya Potisat Course: NDC Class : 62
The objectives of this research are 1) to analyze subdistrict headman and
village headman club president’s attitude towards the House of Representatives
election methods under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017)
2) to analyze the role of subdistrict headman and village headman in encouraging
their citizen to go voting on Election Day 3) to analyze problems and obstacles
affecting the House of Representatives elections and 4) to find out how to improve
the House of Representatives election methods under the Constitution of the
Kingdom of Thailand B.E. 2560 (2017). This research focuses on subdistrict headman
and village headman for 3 reasons which are 1) they represent state power at the
district level and village level 2) they pass the government policy to the people in
their districts and villages and they represent the people by passing their voice to the
government and 3) they are naturally and officially the leaders of the people in the
area, especially in supporting elections at all levels. However, the scope of this
research is limited to the election methods prescribed under the Constitution of the
Kingdom of Thailand B.E. 2560 only.
Research method. This research is a documentary research and a
qualitative research gathering data based on documentary studies (primary,
secondary and tertiary) and a semi-structure in-deep interview. With purposive
sampling from subdistrict headman and village headman club president, 60 people
were selected to participate in the interview and the data were used as a primary
data for all regions throughout Thailand. Data analysis this research analyzes data
obtained from literature review and interviews by comparing and synthesizing
concepts, theories and principles.
The research found that a subdistrict headman and village headman club
presidents had good knowledge and understanding on election method and their
attitudes towards the election methods were agreeing on the following 3 topics and
disagreeing on the following 1 topic. Firstly, most of them agreed on using only 1
single ballot and using the system of 350 constituencies (1 House of Representative
for 1 constituency). 1 citizen can have 1 vote and the most popular vote in the
constituency wins the election. They also agreed on using the number of the eligible
voters divided by 500 as an average of the total votes for a single House of
Representatives and using the number of the expected House of Representatives
minus the constituency House of Representatives as the number of the Party-list
House of Representatives. However, they disagreed on using the total vote of the all
political parties throughout the country divided by an average of the voters of a
single House of Representatives as the number of the House of Representatives the
political party should have in an election.
As for the problems and obstacles affecting the House of Representatives
elections, the research found that the current public relations communication was
not able to make citizen understand how to calculate the proportion of the vote. In
this research, the researcher proposed the ways to improve the election methods in
calculating the number of Party-list House of Representatives.