เรื่อง: แนวทางการดำเนินคดีความผิดฐานลักทรัพย์ที่กระทำกับสินทรัพย์ดิจิทัล และข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์, (วปอ.9023)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายปรัชญา ศรีอัมพรแสง, (วปอ.9023)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการด าเนินคดีความผิดฐานลักทรัพย์ที่กระท ากับสินทรัพย์ดิจิทัล
และข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายปรัชญา ศรีอัมพรแสง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรคในการ
ด าเนินคดีอาญาฐานลักทรัพย์ที่กระท ากับสินทรัพย์ดิจิทัลหรือข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อศึกษา
แนวทางการด าเนินคดีในต่างประเทศ และเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง โดยมีขอบเขตการวิจัยมุ่งเน้นศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินคดีอาญาความผิด
ฐานลักทรัพย์เป็นส าคัญ โดยการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากวิธีการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกพนักงาน
อัยการและพนักงานสอบสวนผู้ทรงคุณวุฒิด้านการด าเนินคดีอาญา พิจารณาประกอบกับข้อมูล
ทุติยภูมิจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะอาชญากรรมในปัจจุบัน
มีทั้งที่มุ่งกระท าต่อตัวสินทรัพย์ดิจิทัลและข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะการแย่งกรรมสิทธิ์
จากเจ้าของ และการลักลอบแอบท าส าเนาหรือน าข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ล่วงรู้ไปใช้แสวงหา
ประโยชน์อย่างอื่น ปัจจุบันบทบัญญัติกฎหมายและแนวทางวินิจฉัยของศาลยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน
ผู้บังคับใช้กฎหมายบางส่วนจึงเลือกน าความผิดฐานใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
มาใช้บังคับแก่กรณี อย่างไรก็ดี ความผิดฐานใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิชอบและความผิด
ฐานลักทรัพย์มีองค์ประกอบกฎหมายและอัตราโทษที่แตกต่างกัน รวมทั้งอ านาจของพนักงานอัยการ
ในการเรียกคืนทรัพย์สินหรือให้ใช้ราคาก็แตกต่างกัน ส าหรับตัวอย่างการด าเนินคดีในต่างประเทศ
มีทั้งกลุ่มประเทศที่บัญญัติความผิดฐานลักทรัพย์ให้ครอบคลุมถึงทรัพย์บางประเภทที่ไม่มีรูปร่าง
และกลุ่มประเทศซึ่งมีการบัญญัติเป็นความผิดฐานเฉพาะที่มิใช่ความผิดฐานลักทรัพย์
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะว่า ในด้านการปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับ
ความผิด ควรผสมผสานแนวทางการก าหนดค านิยามศัพท์ของค าว่า “ทรัพย์” และค าว่า “ทรัพย์สิน”
ไว้ในประมวลกฎหมายอาญาเพื่อให้ครอบคลุมวัตถุแห่งการกระท าที่เป็นสินทรัพย์ดิจิทัลหรือข้อมูล
ทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่าง ควบคู่ไปกับแนวทางการก าหนดเป็นฐานความผิดเฉพาะ
เพื่อให้ครอบคลุมการกระท าความผิดบางประการซึ่งไม่เข้ากรณีที่เป็นการกระท าที่เป็นการตัด
กรรมสิทธิ์จากผู้เป็นเจ้าของอันเป็นองค์ประกอบความผิดฐานลักทรัพย์พร้อมทั้งปรับปรุงบทบัญญัติ
กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (ที่แก้ไขเพิ่มเติม) ในด้านการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาวิจัยต่อยอด
เพิ่มเติมเพื่อให้การแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 สอดคล้องกับรูปแบบการกระท าความผิดทางเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งกระท ากับสินทรัพย์
ดิจิทัลและข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน
abstract:
Abstract
Title Guidelines for Prosecution of Theft against Digital Assets and Electronic
Data
Field Politics
Name Mr. Prajya Sriampornsang Course NDC Class 62
This research is aimed at studying the problems and obstacles in criminal
proceedings against theft committed against digital assets or electronic data, studying
litigation in other countries, and giving suggestions to improve relevant provisions of law.
The scope of the research focuses on the problems and obstacles in criminal
proceedings against theft, by methods of collecting primary data from in-depth interview
with public prosecutors and inquiry officials qualified in criminal proceedings; and
secondary data from literature reviews. It is found that the nature of crimes found is
both aimed at digital assets and electronic data in way of taking ownership of the owner,
and secretly copying or exploiting the known electronic data for any other purpose.
At present, the statutory provisions and court decisions are not yet clear. Some law
enforcements then have opted to apply offences against electromagnetic records to the
cases. However, the offences against electromagnetic records and offence of theft have
different elements of law and penalties. Also, the power of the public prosecutors
to restore properties for the two offences are different. As for litigation approaches in
other countries, there are both offences of theft to cover certain types of intangible
assets, and legal provisions for specific offences apart from the offence of theft.
The researcher, therefore, has recommended that in terms of amendment
of law on offences, there should include the definitions of “thing” and “property” in
the Penal Code to cover the object of action that is digital assets or electronic data
which is intangible property; along with imposing specific offences in order to cover
certain offences which do not amounting to taking away of the ownership from
the owner which constitutes the offence of theft as well as revising the law on
the protection of victims’ rights in the Computer Related Crimes Act, B.E. 2007
(as amended). In terms of further research, it should be carried out to ensure the
amendment of the Computer Related Crimes Act, B.E. 2007 to be in line with new
technology offences committed against digital assets or electronic data.