Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่ำ โอกาสแห่งการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่เศรษฐกิจและสังคม, (วปอ.9011)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางนิรมาณ ไหลสาธิต, (วปอ.9011)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่่า โอกาสแห่งการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่เศรษฐกิจและสังคม ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นางสาวนิรมาณ ไหลสาธิต หลักสูตร วปอ. รุ่นที่62 งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมในการท่าโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่่า ศึกษาวิธีการจัดสรรผลประโยชน์จากการใช้พื้นที่ ใช้ประโยชน์ต่่าเพื่อกระจายรายได้สู่ประชาชนที่ตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ดังกล่าว และเพื่อเสนอแนะ มาตรการและกลยุทธ์ในการส่งเสริมการบริหารจัดการพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่่าเพื่อจัดตั้งโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยเอกสารที่น่าเชื่อถือ ข้อมูลสถิติ ข้อมูลจากภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ และใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อวิเคราะห์ ข้อเท็จจริง ปรากฏการณ์ต่างๆ วิเคราะห์เป็นข้อมูลประกอบการน่าเสนอมาตรการและกลยุทธ์ในการ ส่งเสริมการบริหารจัดการพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่่าเพื่อจัดตั้งโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ผลการวิจัยพบว่า หลักคิดส่าคัญในการด่าเนินการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในพื้นที่ ใช้ประโยชน์ต่่านั้น สาเหตุหลักคือการต้องการแก้ปัญหาพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่่าของประชาชน เพื่อการ สร้างโอกาสและสร้างมูลค่าเพิ่มให้เศรษฐกิจและสังคม และก่อให้เกิดรายได้หรือการสร้างงานให้กับ ชุมชน ดังนั้น ต้นน้่า กลางน้่า และปลายน้่า ควรเป็นประชาชนของชุมชนนั้นเข้ามามีส่วนร่วม และ หากสามารถพัฒนาให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ โดยการริเริ่มโครงการ บริหารจัดการ โดยชุมชน เพื่อชุมชนได้นั้น จะยังประโยชน์สูงสุดต่อเป้าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทนที่ยั่งยืน ซึ่งผู้วิจัยได้ เสนอมาตรการและกลยุทธ์ในการส่งเสริมการบริหารจัดการ เพื่อจัดตั้งโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่่าจ่านวน 2 กลยุทธ์คือ กลยุทธ์ภาคการสนับสนุน และกลยุทธ์ภาค ความร่วมมือ โดยมีทั้งสิ้น 7 มาตรการ “H A P P I E S” คือ 1) พัฒนาบุคลากรด้านการบริหาร จัดการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (H: HR Planning) 2) จัดสรรผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม (A: Allocate Fair Benefit)3) เสนอขอการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน (P: Participation and Engagement) 4) ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (P: Promotion and Conservation of Environmental Quality) 5) สร้างการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน (I: Improving Community) 6) ปลูกจิตส่านึกการสร้างและ ความเป็นเจ้าของร่วมกันของพลังงานไฟฟ้า (E: Energy Conservation Awareness) 7) วิเคราะห์ ข้อมูลความเป็นไปได้ของการจัดตั้งโครงการ 4 ด้าน คือ ด้านการตลาด ด้านเทคนิค ด้านกฎหมายและ ข้อก่าหนด และด้านเศรษฐศาสตร์(S: Feasibility Study/ Data Analysis)

abstract:

ABSTRACT TiTle : Solar Power Plant in Low Utilization Area: Opportunity of Added Value for Economy and Society Field : Science and Technology Name: Miss Niramarn Lisathit Course NDC Class 62 Purposes of the study were analyzing an appropriate solar power plant in low utilization area; providing allocate benefits from low utilization area and distributing income to the community and; recommending standard and strategy to encourage low utilization area management for establishing solar power plant. Qualitative methodology was applied to the research regarding reliable study, statistics data, public and private data from both inside and outside country. Content analysis was applied to synthesize the fact phenomenon and to distribute the standard and strategy for promoting solar power plant project management in low utilization area. Results found that significant principle in procedure of solar power plant in low utilization area was the community needs to solve the low utilization area. They needed to participate in the opportunity of added value for economy and society, creating income or jobs for the community. Therefore, upstream, midstream, and downstream should be participated by the community. The development of self-reliant ability according to the initiative and managing project by community and for community always was the maximum benefit for development purpose. Researcher distributed 2 managing strategies regarding solar power plant in low utilization area as following: encouragement strategy and cooperation strategy including 7 standards “H A P P I E S” as following: 1) Human resource development regarding solar power plant management (H: HR Planning) 2) To allocate fair benefit (A: Allocate Benefit) 3) To request an encouragement from public and private (P: Participation and Engagement) 4) To promote natural environment (P: Promotion and Conservation of Environmental Quality) 5) To improve community learning (I: Improving Community) 6) To raise awareness and ownership of electric energy (E: Energy Conservation Awareness) 7) To analyze possibility data of establishment including 4 areas; marketing, technique, law and statement, and economics (S: Feasibility Study / Data Analysis).