Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนางานข่าวกรองภูมิสารสนเทศของกองทัพไทย, (วปอ.9006)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. นำศักดิ์ สาระสุข, (วปอ.9006)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนางานข่าวกรองภูมิสารสนเทศของกองทัพไทย ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรี น าศักดิ์ สาระสุข หลักสูตร วปอ. รุ่นที่62 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างบทบาทและหน้าที่ ข้อมูลบุคลากร รวมถึง สถานะภาพของระบบงาน เครื่องมือยุทโธปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับข่าวกรองภูมิสารสนเทศ ข่าวกรองการภาพ การส ารวจและท าแผนที่และข้อมูลภูมิศาสตร์ของกองทัพไทยในปัจจุบัน และศึกษาปัญหา ข้อขัดข้อง ของการปฏิบัติงานด้านข่าวกรองภูมิสารสนเทศ รวมทั้งเสนอแนวทางในการบูรณาการงานด้านข่าว กรองภูมิสารสนเทศงานข่าวกรองการภาพ ในความรับผิดชอบของกองทัพไทย ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบและลักษณะของการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับภูมิสารสนเทศ ทางทหารมีลักษณะที่เป็นการผลิตข้อมูล การใช้งานในระดับศูนย์บัญชาการทางทหาร และการใช้งาน ในระดับกองทัพภาค โดยแนวทางการพัฒนาและบูรณาการข่าวกรองภูมิสารสนเทศของกองทัพไทย สามารถด าเนินการได้ด้วยการจัดตั้งระบบงานแห่งชาติในด้านข่าวกรองภูมิสารสนเทศ (National System for Geospatial Intelligence: NSG)และแต่งตั้งผู้บริหารข่าวกรองภูมิสารสนเทศ (GEOINT Functional Manager : GFM)รวมถึงมีสภาบริหารข่าวกรองภูมิสารสนเทศระดับสูง และคณะกรรมการข่าว กรองภูมิสารสนเทศ (Geospatial Intelligence Committee : GEOCOM) ในการปรับปรุงบทบาท และโครงสร้างของหน่วยรับผิดชอบหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยผู้ผลิตข้อมูลแผนที่ ควรจะต้อง ปรับปรุงเพิ่มบทบาทด้านความมั่นคงให้มุ่งไปสู่การสนับสนุนภารกิจข่าวกรองภูมิสารสนเทศให้มากขึ้น ส าหรับแนวทางการบูรณาการงานด้านข่าวกรองภูมิสารสนเทศงานข่าวกรองการภาพใน ความรับผิดชอบของกองทัพไทย เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจท าได้โดยใช้ หลักการของ Military Spatial Data Infrastructure – MSDI ได้แก่การพัฒนาชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศพื้นฐาน การเชื่อมโยงระหว่างฐานข้อมูล GIS กับ MIS ที่มีอยู่แล้วในกองทัพ การพัฒนามาตรฐานภูมิสารสนเทศ ข้อตกลง และแนวทางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล และน าเข้าข้อมูล การพัฒนาระบบสืบค้น แลกเปลี่ยน และบริการข้อมูล (GI Web portal / Data Clearing house) การสร้างองค์ความรู้ และส่งเสริมการ ใช้ประโยชน์จาก GIS ส าหรับการปฏิบัติงานในกองทัพ (Outreaching GI) โดยใช้ระบบ Cloud GIS เป็นเครื่องมือในการบูรณาการงานด้านข่าวกรองภูมิสารสนเทศ ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายและ การบริหารจัดการควรมีก าหนดแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และ ปรับปรุงบทบาทและโครงสร้างของหน่วยรับผิดชอบหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยผู้ผลิตข้อมูลแผนที่ มุ่งไปสู่การสนับสนุนภารกิจที่ข่าวกรองภูมิสารสนเทศให้มากขึ้น

abstract:

Abstract Title Development of geospatial intelligence work of the Royal Thai Armed Forces Field Military Name Maj.Gen. Namsak Sarasuk Course NDC Class 62 This research aimed to study structure, role and function personnel information Including the status of the work system, armaments related to Spatial Intelligence, Imagery Intelligence, Surveying and Mapping, and the geography of the Thai Army nowadays. And to study the problems of Spatial intelligence operation as well as to propose guidelines an integration of Spatial Intelligence and Imagery Intelligence under responsibility of Royal Thai Arm force. The results of the free study found that the patterns and characteristics of operations related to Military Spatial are characterized as information production and the usage of both at Armed Forces headquarters level and at Army Regions level. Under the development and integration of Royal Thai military intelligence, this can be proceeded by establishing a National System for Geospatial Intelligence (NSG) and appointing a GEOINT Functional Manager (GFM) as well as having a high-level Geospatial Intelligence Management Council and the Geospatial Intelligence Committee (GEOCOM) to improve the roles and structure of the main responsible units. Especially the map information production unit. There should need to improve and increase the role of security in order to support more geospatial intelligence missions. For guidelines for an effective integration of geospatial intelligence and imagery intelligence under the responsibility of the Royal Thai Army, this may be achieved by using the principles of Military Spatial Data Infrastructure - MSDI; the development of basic geospatial datasets. The link between the GIS database and the MIS which is ready to be used, the development of geospatial standards, agreements and guidelines for exchanging information And importing data, searching system development, exchange and information services (GI Web portal / Data Clearing house), knowledge building, and to promote the use of GIS for operations in the army (Outreaching GI) by using the Cloud GIS system as a tool for the integration of Geospatial Intelligence.