เรื่อง: แนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของกำลังพลกองบัญชาการกองทัพไทยเพื่อการเป็น DIGITAL HQ, (วปอ.8966)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ. พรชัย พวงลำเจียก, (วปอ.8966)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
ของทุกหน่วยซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานของระบบดิจิทัลในอนาคตน ามาซึ่งการพัฒนาขีดความสามารถ
ของกองบัญชาการกองทัพไทยให้สูงยิ่งขึ้น และพัฒนาคุณภาพชีวิติของก าลังพลให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของก าลังพลกองบัญชาการกองทัพไทย
เพื่อการเป็น DIGITAL HQ
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย พันเอก พรชัย พวงล าเจียก หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาความเป็นมาและความสอดคล้องของ
นโยบายด้านดิจิทัลในการพัฒนาก าลังพลตามแผนพัฒนาทักษะดิจิทัลบุคลากรภาครัฐของกระทรวงกลาโหม
และความสอดคล้องตามนโยบายการพัฒนาและขับเคลื่อนกองบัญชาการกองทัพไทยสู่เป้าหมาย
DIGITAL HQ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุน รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาทักษะ
ด้านดิจิทัลของก าลังพลกองบัญชาการกองทัพไทย 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล
ของก าลังพลกองบัญชาการกองทัพไทยเพื่อสู่เป้าหมาย DIGITAL HQ
จากการวิจัยพบว่า ในด้านนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลก าลังพล องค์กร
ของภาครัฐมีนโยบายที่สอดคล้องกันในทุกระดับ ทั้งในส่วนของรัฐบาล องค์กรทุกส่วนของภาครัฐบาล
กระทรวงกลาโหม และกองบัญชาการกองทัพไทย ในด้านนโยบายการปรับกระบวนการทัศน์
การท างานและการก ากับดูแลที่เกี่ยวข้องให้รองรับกับการเป็นกองทัพดิจิทัลนั้น โดยรวมแล้วด าเนินการ
ได้ดีเครื่องมือและอุปกรณ์อยู่ในระดับดีประเด็นส าคัญคือก าลังพลส่วนใหญ่ยังมีทักษะด้านดิจิทัลน้อย
เกือบทุกหน่วยยังขาดผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวกับระบบดิจิทัล ก าลังพลบางส่วนยังขาดความใส่ใจที่จะให้
ความส าคัญในการใช้ระบบด้วยตนเองก าลังพลที่มีความรู้ในการพัฒนาโปรแกรมยังมีไม่เพียงพอเนื่องจาก
เป็นนโยบายใหม่ ท าให้ภายในหน่วยงานแต่ละหน่วยบางหน่วยยังมีการแบ่งมอบงานในด้านดิจิทัล
ไม่ชัดเจน ท าให้ก าลังพลไม่ทราบหน้าที่การปฏิบัติเฉพาะหน้าที่ของตนที่ต้องปฏิบัติการพัฒนาระบบงาน
และการขับเคลื่อนที่ยังไม่ทั่วถึงจึงท าให้การท างานผ่านระบบยังต้องท าควบคู่กับเอกสารอยู่ด้านการ
พัฒนาระบบ Digital Headquarter ส าหรับระบบการประชุมผ่านระบบ ACU Conference
ของ บก.ทท. มีการจ ากัดผู้เข้าร่วมและใช้ระบบ Intranet จึงเป็นข้อจ ากัดและต้องมีการพัฒนาให้
สามารถรองรับการใช้งานได้อย่างทั่วถึงทั้ง กองบัญชาการกองทัพไทย
ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยนี้ ได้แก่ 1. ปรับโครงสร้างองค์กรและขนาดก าลังคน
ให้สอดคล้องกับแนวทางพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ในระยะสั้น อาจพิจารณาสรรหาบุคลากรที่เป็น
ผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยี (Technologist) เพิ่มขึ้น ส่วนในระยะยาว ควรพิจารณาส่งเสริม
ให้ส่วนราชการน าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ควรมีการสนับสนุน
ความก้าวหน้าทางอาชีพให้มีความทัดเทียมกับหน่วยงานเอกชน พร้อมกับการทบทวนบทบาทภารกิจของ
ส่วนราชการ เพื่อสร้างเงื่อนไขที่จ าเป็นในการส่งเสริมทักษะและความคิดสร้างสรรค์ของก าลังพล
พัฒนากลไกในการบริหารงานที่มีความคล่องตัว กะทัดรัด อย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพและ
มีอัตราก าลังคนที่เหมาะสม 2. ควรมีการพัฒนาแพลตฟอร์มบริการพื้นฐานกองบัญชาการกองทัพไทย
(service platform) เพื่อรองรับการพัฒนาแอปพลิเคชันหรือบริการรูปแบบใหม่ที่เป็นบริการพื้นฐาน
abstract:
Abstract
Title Methods for developing digital skills of personnel in the Royal Thai
Armed Forces Headquarters to DIGITAL HQ
Field Science and Technology
Name Colonel Pornchai Phuanglamchiak Course NDC Class 62
The objectives of this research are 1. To study the background and
consistency of policies in personnel’s digital skills development according to the
plan provided by the Ministry of Defense and compliance with the development
policies in the Royal Thai Armed Forces Headquarters (RTARF HQ) to digital HQ, 2. To
study supporting factors including problems and limitations affecting the
development of digital skills of personnel in RTARF HQ, 3. To propose methods for
developing digital skills of personnel in RTARF HQ.
This qualitative research was conducted by using the literature review
and relevant official document. The following results were implied. In term of the
policy for the development of military personnel skills, there were cooperative
policies at all level, such as all government sectors, the Ministry of Defense, and
RTARF HQ. In term of the policy for the adjustment of work processes and relevant
supports to become the digital army, the process is performing well, and the
equipment is in good condition. The key point to improve is that most of the
personnel are lack of digital skills. Moreover, some of the personnel do not have
self-consciousness of the system. Almost all units lack digital expertise, and the
personnel do not have sufficient knowledge in program development. As a
consequence, some units still have an unclear organization in digital assignments,
leading to unaware of specific duties. Due to these weaknesses, the units are still
working through the digital system in parallel with the hard-copy system. In term of
the development of the digital headquarter system, it was found that the ACU
conference system of RTARF HQ limits the number of participants. Furthermore,
RTARF HQ is using Intranet system, which is a limitation that needs to be improved in
being able to cover all the demand in the headquarter.
According to the outcomes of this research, the following recommendations
were made in order to increase the capability of RTARF HQ and improve the life
quality of the personnel. Firstly, RTARF HQ should adjust the organizational structure
and the size of personnel to match the development policy. For the short term
solution, they may consider recruiting more technologists. Meanwhile, the long term
solution should consider encouraging units to use digital technology in their
operations. In addition, RTARF HQ should support the career development of the
personnel to be comparable with private companies, along with reviewing the roles
and missions of the headquarter. This could lead to the improvement of skills and
creativity of the personnel in particular to develop the management system to
become compact, concrete, and efficient with the suitable size of the headquarter.
Secondly, RTARF HQ should develop a service platform to support the development
of new applications and services that are fundamental for all units. This platform
could be used as the infrastructure of digital headquarter in the future.