เรื่อง: การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อระบบควบคุมบังคับบัญชากรณีศึกษา ชุดต้นแบบทางยุทธวิธี, (วปอ.8956)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. โชคชัย พลสมัคร, (วปอ.8956)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อน าเข้าระบบควบคุมบังคับบัญชา
กรณีศึกษา ชุดต้นแบบทางยุทธวิธี
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย พลตรี โชคชัย พลสมัคร หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 62
การศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อน าเข้าระบบ
ควบคุมบังคับบัญชา กรณีศึกษา ชุดต้นแบบทางยุทธวิธี” เป็นการศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และนวัตกรรม ในการถ่ายทอดแนวความคิดไปสู่การปฏิบัติจากหลักการ
อ านวยการยุทธ การข่าววงรอบข่าวกรอง การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO)
การปฏิบัติการทางยุทธวิธี (TDL) เครือข่ายอินเตอร์เน็ตสรรพสิ่ง (IOT) ส าหรับการสร้างต้นแบบ
(สมมุติฐาน) ในการหาความเป็นไปได้หากกองทัพจะผลิตอุปกรณ์ใช้งานภายใต้ความร่วมมือ และ
การสนับสนุนจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน
ผลการทดสอบสมมุติฐาน “ชุดต้นแบบทางยุทธวิธี” สามารถสรุปได้ว่ามีความเป็นไป
ได้ในการน าเข้าข้อมูลที่รับจากการประมวลผลระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อประยุกต์ใช้บนระบบ
อ านวยการยุทธของระบบควบคุมบังคับบัญชา โดยมีผลการทดสอบที่สะท้อนถึงหลักการด าเนินการ
วิจัย ด้านทักษะองค์ความรู้ไปจนถึงข้อจ ากัดใน การปฏิบัติการทางด้านยุทธวิธี ยุทธการ และ
ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัยหวังว่า “ชุดต้นแบบทางยุทธวิธี” จากการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเรื่อง
“การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อน าเข้าระบบควบคุมบังคับบัญชา กรณีศึกษา ชุดต้นแบบ
ทางยุทธวิธี” ที่มีแนวคิดมาจากหลักการปฏิบัติของศูนย์บัญชาการทางทหาร (ศบท.) และ
การปฏิบัติการในพื้นที่รบ นั้น จะก่อให้เกิดความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคปัญญาประดิษฐ์
และหุ่นยนต์ (AI & Robot) นอกจากนี้ผู้วิจัยคาดหวังว่า ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย และการร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงาน รวมถึงผลผลิตที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จะเป็นแนวทางในการเตรียมศักยภาพ
ของกองทัพไทยและก าลังพลในปัจจุบัน ให้เข้าใกล้หรือเทียบเคียงกับประเทศที่มีการปฏิวัติทางด้าน
เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ซึ่งต้องมีเตรียมการล่วงหน้าอีกไม่ต่ ากว่า 20 ปีขึ้นไป
abstract:
Abstract
Title : Artificial Intelligence for C4
I Case study of Tactical Prototype
Field : Science and Technology
Name : Major General Chokchai Polsamuk Course NDC Class 62
The Workshop “The Technology of using Artificial Intelligence to identify
targets for Command and Control System in case of Operational Prototype” is the
study for Information Technology System, Artificial Intelligence (AI) and Innovation to
implement from the Principle of Combat Management, the Intelligence Cycle,
Network Centric Operation (NCO), Tactical Data Link (TDL), and Internet of Things
(IOT) for building the Prototype (hypothesis) to study feasibility for the Armed Forces
to consider to produce equipment under the cooperation and support from the
other government agencies and private sectors.
The test result of hypothesis “Operational Prototype” concludes that
there is possibility to input data in the process of the Artificial Intelligence or AI to
apply on the Combat Management of Command and Control System. This result can
reflect on the Principle of Research in case of knowledge skills as well as the
limitation of the operations from tactical level, operational level and strategy level.
The researcher anticipates that the “Operational Prototype” from this
study which is initiated by the concept of the procedure in the Military Command
Center (MCC) and the operations in combat areas will cause some awareness of
transformation to the Era of Artificial Intelligence and robot (AI & Robot). In addition,
the researcher hopes that this research process and the collaboration among the
agencies including the product from the research which can take place in a concrete
way will be a preparation guideline to enhance capabilities of the Armed Forces and
their personnel. This preparation should be proceeded at least 20 years in advance
in order to approach or in the same level of the countries which have technology
revolution.