Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาแรงงานภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคดิจิทัลเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน, (วปอ.8951)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายชัยยันต์ เจริญโชคทวี, (วปอ.8951)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาแรงงานภาคอุตสาหกรรมไทย ในยุคดิจิทัลเพื่อความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายชัยยันต์ เจริญโชคทวี หลักสูตร วปอ. รุ่นที่62 แรงงานไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหาการขาดทักษะและประสบการณ์แรงงานและแรงงาน ในแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันและมีความซับซ้อนมากเช่นกันซึ่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิดธุรกิจและอาชีพใหม่ ๆ คนท างานในอนาคตจึงต้องมี “ทักษะชุดใหม่” ที่สามารถท างาน ร่วมกับหุ่นยนต์cและระบบอัตโนมัติได้โดยเฉพาะทักษะด้านเทคโนโลยีและดิจิทัลท าให้เกิดแรง กดดันให้แรงงานต้องพัฒนาทักษะใหม่ๆ ตลอดเวลาหากต้องการอยู่ในตลาดแรงงานต่อไปผลจาก การศึกษาในครั้งนี้ท าให้ได้ข้อสรุปที่ส าคัญ และเป็นประโยชน์รวมทั้งข้อเสนอแนะในการน าไป ประยุกต์ใช้ และพัฒนาแนวทางการพัฒนาแรงงานภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคดิจิทัล โดยมี วัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาโครงสร้างระบบแรงงานในภาคอุตสาหกรรมไทย 2. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบการพัฒนาแรงงานภาคอุตสาหกรรมไทยในยุค ดิจิทัล 3. เพื่อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาของการพัฒนาแรงงานภาคอุตสาหกรรมไทยในยุค ดิจิทัลเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน ผลการศึกษาสรุปโดยย่อได้ดังนี้การแก้ปัญหาระยะยาว เนื่องจากปัญหาแรงงาน เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างซึ่งต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนทางโครงสร้าง การแก้ปัญหาข้างต้น เป็นการแก้ปัญหาระยะสั้น ในระยะยาวจ าเป็นต้องมีการเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน และการใช้ระบบ อัตโนมัติ (Automation) ในภาคอุตสาหกรรมให้มากขึ้นเพื่อแก้และบรรเทาปัญหาการขาดแคลน แรงงาน มีการพัฒนาผู้น าที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้องค์กรของตนเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคดิจิทัล และพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพเพียงพอที่จะท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพในยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในขณะเดียวกันการเปลี่ยนผ่านจากเทคโนโลยีทรัพยากรบุคคลที่เน้น การผลักดันประสิทธิผล และกระบวนการผลิตที่ทันสมัยไปสู่ยุคแห่งข้อมูล และความรู้ความสามารถ ที่จะท าให้สามารถคาดการณ์ และประเมินศักยภาพความเป็นผู้น า และส่งมอบประสบการณ์ ที่ดีกว่าให้แก่บุคลากรได้เพื่อที่จะก้าวสู่ยุคดิจิทัลและเป็นที่ต้องการขององค์กร สิ่งที่ต้องท าคือการ ปรับตัวให้มีความรู้ ความสามารถโดยยกระดับทักษะในการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์ทันสมัย รูปแบบใหม่ ๆ

abstract:

Abstract Title : Model for the development of Thai industrial labor in the digital age for competitive advantage Field : Economics Name : Mr. Chaiyan Charoenchokethavee Course NDC Class 62 Most Thai workers still year, the problem of lack of skills and experience of labor. And the labor in each group is different and very complex as well. The advancement in technology leads to new businesses and careers. Future workers must therefore have "New Skill Set" that can work with robots and automation especially skills in technology and digital. Causing pressure to labor to develop new skills at all times if wanting to remain in the labor market. The results of this study made important conclusions and helpful Including suggestions for application and develop guidelines for the development of Thai industrial labor. In the digital age with the objective of 1. To study the structure of the labor system in the Thai industrial sector. 2. To analyze problems and impacts of Thai industrial labor development in the digital age. 3. To propose solutions to problems of industrial development of Thai industrial workers in the digital age for competitive advantage. The study results can be summarized as follows long-term solution since the labor problem is a structural problem which takes time to adjust the structure. The above solutions are short-term solutions. In the long run, increasing labor productivity is necessary and the use of automation in industrial automation to solve and reduce labor shortage problems. Developing suitable leaders to help your organization transition to the digital age and develop the personnel to have sufficient potential to work efficiently in the rapidly changing era. At the same time Transition from human resource technology that focuses on driving effectiveness and modern production processes to the age of information and knowledge that can make predictions. And assess leadership potential can deliver better experience to personnel in order to advance into the digital age and be needed by the organization. All that has to be done is to adapt to the knowledge and ability by upgrading the skills in using technology and new modern equipment.