Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การใช้อากาศยานทางทะเลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการปฏิบัติการทางเรือกรณีศึกษาโครงการวิจัยเครื่องบินทะเลในประเทศไทย, (วปอ.8933)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต. ขวัญชัย อินกว่าง, (วปอ.8933)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การใช้อากาศยานทางทะเลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการปฏิบัติการ ทางเรือ : กรณีศึกษาโครงการวิจัยเครื่องบินทะเลในประเทศไทย ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลเรือตรี ขวัญชัย อินกว่าง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒ นับเป็นการน าผลส าเร็จของการวิจัยเครื่องบินทะเลที่เป็นประโยชน์จากวิทยาการใหม่ ของการสร้างล าตัวเครื่องบินทะเลด้วยวัสดุคอมโพสิตเป็นครั้งแรกในประเทศ และเป็นก้าวส าคัญ ที่จะผลักดันให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้ทางเทคโนโลยีการสร้างอากาศยานด้วยวัสดุคอมโพสิต ที่ได้มาตรฐานปลอดภัยทางการบิน และองค์ความรู้ในการบินขึ้นลงในแหล่งน้ า ให้ด ารงอยู่ในวงการ บินของประเทศต่อไป หลังจากที่วิทยาการการบินในด้านนี้ของกองทัพเรือได้ขาดหายไปช่วงเวลาหนึ่ง ตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่ประเทศเราเคยมีสนามบินน้ า ในแม่น้ าเจ้าพระยาอยู่ที่จังหวัด นนทบุรี ประเทศไทยมีชายฝั่งทะเลยาว ถึง ๑,๕๐๐ ไมล์ทะเล และแหล่งน้ าต่าง ๆ ตั้งแต่แม่น้ า เขื่อนขนาดใหญ่ เขื่อนขนาดเล็ก อ่างเก็บน้ า ห้วย หนอง บึง ต่างๆ ที่มีความยาวตั้งแต่ ๕๐๐ เมตร ขึ้นไป และความลึกของน้ าประมาณ ๑ เมตร ซึ่งมีอยู่มากมายในประเทศไทย สามารถเป็นสนามบิน ขึ้นลงได้อย่างปลอดภัย ในความหลากหลายของมิติการใช้งานของเครื่องบินทะเลขนาด ๒ ที่นั่ง ภายใต้แนวคิดต้องมีความปลอดภัยในการบิน ต้นทุนการปรนนิบัตรบ ารุง และการสิ้นเปลืองน้ ามัน เชื้อเพลิงต่ า สามารถใช้ทดแทนบางภาระงานของอากาศยานขนาดใหญ่ ที่เครื่องบินทะเลขนาด ๒ ที่นั่งปฏิบัติได้ จากผลการวิจัยในเอกสารเล่มนี้ สรุปได้ว่า เครื่องบินทะเลขนาด ๒ ที่นั่งล านี้ สามารถ ที่จะน าไปใช้ประโยชน์ในการเพิ่มขีดความสามารถของเรือรบของกองทัพเรือในการบินลาดตะเวน และการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ด้วยการใช้งานที่มีความคล่องตัว ประหยัดค่าใช้จ่าย (O-cost/M-cost) ไม่ต่ ากว่า ๕ เท่าในปฏิบัติการเดียวกันเมื่อเทียบกับอากาศยานที่ใช้ในกองทัพเรือ โดยที่ต้นทุนการบินต่อชั่วโมงของเครื่องบินทะเลประมาณ ๓,๐๐๐ บาทต่อชั่วโมง ในขณะที่ต้นทุน การบินของอากาศยานที่ใช้ในกองทัพประมาณ ๑๕,๐๐๐- บาทต่อชั่วโมง และเป็นการใช้งานอากาศ ยานของกองทัพตามภารกิจให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตามขีดสมรรถนะ นอกจากความปลอดภัย และความประหยัดงบประมาณแล้วอีกประการหนึ่งที่ส าคัญคือ เพื่อจุดประกายความคิดในการพึ่งพา ตนเองด้านเทคโนโลยีการบิน และนวัตกรรมการสร้างล าตัวเครื่องบินด้วยระบบคอมโพสิตที่ได้ มาตรฐานตามหลักมาตรฐานความปลอดภัย โดยการเริ่มต้นจากการศึกษาวิจัยมาเป็นล าดับ อย่างเป็น ระบบเพื่อรองรับการต่อยอดองค์ความรู้ให้กับผู้ที่สนใจได้อย่างมั่นคงปลอดภัยในอนาคต อุปสรรคที่เกิดขึ้นในทุก ๆ ช่วงของการด าเนินการจะเป็นพลังให้ทีมวิจัยนี้ แข็งแกร่ง จากการเรียนรู้ในการแก้ปัญหา เพื่อก้าวผ่านอุปสรรค เพราะเป้าหมายของพวกเรามีประการเดียวคือ ความส าเร็จของโครงการ ก้าวส าคัญก้าวนี้ถือเป็นก้าวแรกของการทดสอบทดลองการออกแบบ ข ชิ้นส่วนอากาศยาน การประกอบอากาศยานใหม่ทั้งเครื่อง ตลอดจนถึง องค์ความรู้และวิธีการทดสอบ การบิน ตามมาตรฐานการทดสอบเครื่องบินต้นแบบ (prototype) FAA ครบถ้วนทุกกระบวนการ ตามมาตรฐาน ตั้งแต่การออกแบบจนถึงการบินทดสอบ สามารถใช้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ถึง ความเป็นไปได้ในการสร้างต้นแบบเครื่องบินทะเลและพร้อมที่จะขยายผลสู่การปฏิบัติงานร่วมกับเรือ รบอันจะเป็นการเพิ่มขีดความสามารถการปฏิบัติการของเรือรบต่อไป

abstract:

Abstract Title : Using marine aircraft to enhance naval operational capability : a case study of seaplane research projects in Thailand Field : Military Name : Rear Admiral Khwanchai Inkwang Course NDC Class 62 was a very successful research project of which composite materials technology was introduced to the seaplane building for the first time in Thailand. It was the first crucial step that would expand technological knowledge in building composite aircraft with aviation safety standard, as well as the knowledge of flying to-from waters. This type of aviation technology has been disappeared since 2nd World War where Thailand used to have water runway, the Chaopraya river nearby Nonthaburi province. Thailand has a coastline of 1,500 nautical miles, as well as other waters, such as rivers, large and small size dams, reservoirs, creeks etc., which were more than 500 meters in length and about one meter in depth, widely existent in Thailand, and can safely be utilized as water runway. In a variety of usage of the 2-seater seaplane, the conceptual idea were flying safety, low maintenance cost, low fuel consumption, and hopefully, the replacement of the workload of the conventional aircraft whereby the two-seaters seaplane viable. From the research findings in this paper, it can be concluded that, it can be concluded that the two-seaters seaplane can save more than five times of normal flight cost (O-cost / M-cost), compared to the same aircraft used in the fleet. The cost per hour of seaplane flight was around 3,000 baht per hour, while the cost of flying, occurred in the fleet was 15,000 baht per hour. Another crucial issue, other than the safety and the cost saving, was to initiate the idea of self-reliance in aerospace technology, as well as the innovation of building composite aircraft body, with standard safety principles. The research has been carried out systematically, from the very beginning of the project, to support the expansion of aerospace knowledge for those interested in future. Any obstacles encountered at any phase of the project, provided the research team with the strength in problem solving for future. Our goal was to overcome all obstacles and to achieve the success. In addition, this project was the first step of the design testing, whole new aircraft construction, as well as the flight tests protocol according to FAA standard prototype testing. Finally, every constructionง process, from the design phase to the flight testing, Ready to expand the effect to work with Hit Thai Marine Ship, which will increase the operational capabilities of the warships.