เรื่อง: บทบาทของนักศึกษาวิชาทหาร ในเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม (Fake News) และข่าวสารเพื่อความมั่นคงในสถานศึกษา กรณีศึกษา มณฑลทหารบกที่ ๓๑, (วปอ.8909)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ. กฤษณะ ภู่ทอง, (วปอ.8909)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทของนักศึกษาวิชาทหาร ในเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม (Fake News)
และข่าวสารเพื่อความมั่นคงในสถานศึกษากรณีศึกษา มณฑลทหารบกที่ ๓๑
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พันเอก กฤษณะ ภู่ทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
เนื่องจากมีแนวโน้มการก่อความไม่สงบ และการก่อการร้ายโดยใช้ช่องทางไซเบอร์ (Cyber)
เป็นช่องทางการปฏิบัติการ ดังนั้น รัฐบาลในทุกประเทศจึงหันมาให้ความส าคัญในการวางยุทธศาสตร์
ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติขึ้น ซึ่งในปัจจุบันพบว่าการด าเนินการโดยภาครัฐฝ่ายเดียวนั้นไม่
สามารถที่จะลดความเสี่ยงด้านไซเบอร์ได้อีกต่อไป ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์นั้นต้องเป็นการ
ปฏิบัติการด้วยความร่วมมือจากฝ่ายต่างๆ ทั้งองค์กรภาครัฐ และเอกชนที่มีหน้าที่รับผิดชอบควบคุม ดูแล
ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ขับเคลื่อนด้วยระบบไซเบอร์
ประเทศไทยมีปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองมานานหลายปี การสร้างข่าวปลอมเพื่อใส่
ร้ายป้ายสีฝ่ายตรงข้ามเกิดขึ้นมานาน และการใช้ช่องทางตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าวท าได้ยาก (เช่น การ
คัดลอกข่าวแล้วส่งต่อผ่าน LINE Group แทนการส่งลิงค์เพื่อไปอ่านยังเว็บไซต์ต้นฉบับ) ก็ยิ่งท าให้ข่าว
ปลอมระบาดง่ายขึ้น อย่างไรก็ตาม ปัญหาข่าวปลอมแก้ไม่ง่าย เพราะการตัดสินว่าข่าวบางข่าวจริงหรือ
ปลอม (หรือปลอมบางส่วน) เป็นเรื่องยาก ต่อให้เป็นมนุษย์ที่มีประสบการณ์ด้านสื่อสารมวลชนมาอย่าง
ยาวนานก็ตาม ยิ่งมาบวกกับปริมาณข่าวปลอมที่มีจ านวนเพิ่มขึ้นแบบทวีคูณ การแยกแยะโพสต์ใน
อินเทอร์เน็ตว่าอันไหนเป็นข่าวปลอมให้ได้ตลอดเวลา ยิ่งยากเข้าไปอีก ถือเป็นปัญหาที่ยังไม่สามารถ
แก้ไขโดยง่ายด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้าช่วย ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการก าหนดบทบาท
ของนักศึกษาวิชาทหาร ในเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม (Fake News)
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาวิชาทหารซึ่งเป็นกลุ่มวัยรุ่นเยาวชนคนรุ่นใหม่ นิยมใช้ Social
Media (โทรศัพท์มือถือ) เป็นอย่างยิ่ง ข่าวลือ ข่าวลวง และข่าวปลอม จึงแพร่มาจากระบบ Social
Media มากที่สุด แต่นักศึกษาวิชาทหารเองก็มีวิจารณญาณในการเสพข่าว ซึ่งถือได้ว่าเป็นภูมิคุ้มกันในตัว
ที่ดีพอสมควร โดยนิยมสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม (ในอินเตอร์เน็ต, หนังสือ, สอบถามผู้รู้) ให้แน่ใจก่อน จึงจะ
เชื่อในข้อมูลข่าวสารนั้น ส าหรับนักศึกษาวิชาทหารส่วนใหญ่ยอมรับว่าเคยเห็นข่าวปลอม และช่องทางที่
พบข่าวปลอมมากที่สุด คือ ในระบบ Social Media แต่อย่างไรก็ตามนักศึกษาวิชาทหารส่วนมากมีความ
ตั้งใจ มุ่งมั่นที่จะแสดงออกในการเป็นพลเมืองดี ยินดีเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ข่าวสารข้อเท็จจริงและมี
ประโยชน์ต่อความมั่นคงของชาติด้วยความเต็มใจอย่างยิ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ผู้ปกครอง, ครู และ
เจ้าหน้าที่หน่วยงานความมั่นคง จะต้องเข้าไปพูดคุยรวมทั้งท าความเข้าใจโดยละเอียด อย่างเป็นรูปธรรม
สัมผัสได้กับนักศึกษาวิชาทหาร เพื่อให้เห็นความส าคัญของบทบาทในเครือข่ายการเฝ้าระวังข่าวปลอม
(Fake News) และข่าวสารเพื่อความมั่นคงในสถานศึกษา ย่อมได้รับผลส าเร็จจากการด าเนินการเป็น
อย่างดี อย่างแน่นอน รวมทั้งยังถือได้ว่าเป็นการด าเนินการตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่ชัดเจน ใน
การศึกษาบทบาทและก าหนดบทบาทใหม่ ของนักศึกษาวิชาทหารในการเฝ้าระวังข่าวปลอมและข่าวสาร
เพื่อความมั่นคง ในสถานศึกษาอย่างแท้จริง
abstract:
Abstract
Title The Thai Reserve Officer Training Corps Student ‘s role in the Fake
News Surveillance and Security Information in Education Institute’s
Network. A case study from the 31st Military Circle, Royal Thai Army.
Field Social-Psychology
Name Senior Colonel Kritsana Golden Phu Course NDC Class 62
According to the tendency of Insurgency and cyber terrorism, Government
officials from all over the world turn their attention to focus on the national
cybersecurity strategy. In which, on pleasant day’s circumstances showed that
unilateral government actions can no longer reduce cyber risks. Cyber security must
be operated with cooperation from various sectors, both government organisations
and private sectors who are responsible for maintaining cyber security-driven
infrastructure.
Thailand has been encountered with political conflict for many years.
Conducting fake news to defame opponents has been occurring for a long time and
it is difficult to verify the origin of the source (for example, copying the news and
forwarding it through the LINE Group instead of sending the original link of the news
source). This makes it easier for the fake news to spread. However, this fake news
issue is not simple to solve. Regardless of a human being who holds a lifetime
experience or masters the mass communication abilities, the judgment of whether
some news is real or fake (Or partially fake) is still troublesome. Plus, the challenge
of the amount of overflowing fake news that is increasing day by day. Even worse,
distinguishing fake news from the internet is even a tougher matter, which still can’t
be easily solved by computer programing. As a result, the researcher is therefore
interested in determining the role of The Thai Reserve Officer Training Corps Student
(TROTCS) in the fake news surveillance network. (Fake News)
The results revealed that TROTCSs are considered as a group of young
new generation which is most familiar with social media (mobile phones) therefore,
rumors and fake news are most likely to spread from social media. However, the
TROTCSs themselves have discretion in their consumption of news. As they
acknowledge themself by searching for more information (on the Internet, reading
books, asking someone who knows) to be sure before trusting the information. Most
TROTCSs that claimed to have been exposed to the fake news mostly points out on
social media. Nevertheless, most of the TROTCSs are willing to commit to showing
good citizenship and are willing to be a medium of disseminating news and
coordinate to benefit national security. At any rate this depends on the conditions of
parents, teachers and security agency staff, who must discuss and understand in
detail and find tangible ways to reach the TROTCSs. In order to recognize the
importance of the role in the Fake News Surveillance and Security Information in
Education Institute Network which certainly has been achieved. Moreover, this can be
regarded as the implementation of clear research objectives. In the study of roles
and defining new roles of TROTCSs to monitor fake news and security information in
education.