เรื่อง: บทบาทวิสาหกิจเพื่อสังคมในการลดความเหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ, (วปอ.8908)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายกฤษณ์ อิ่มแสง, (วปอ.8908)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง บทบาทวิสาหกิจเพื่อสังคมในการลดความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายกฤษณ์ อิ่มแสง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของวิสาหกิจเพื่อสังคมในการเป็นกลไกที่ช่วย
ลดความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจ และศึกษาแนวทางในการยกระดับวิสาหกิจเพื่อสังคมในการลด
ความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจ จากกรณีศึกษาวิสาหกิจเพื่อสังคมที่มีการด้าเนินโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ
สร้างรายได้ให้กลุ่มเกษตรกร คือบริษัทสานพลัง วิสาหกิจเพื่อสังคม จ้ากัด (บริษัท สานพลัง) ที่ด้าเนิน
โครงการจัดหาเมล็ดกาแฟจากเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟโดยตรงภายใต้ราคาที่เป็นธรรมและอนุรักษ์ธรรมชาติ
เนื่องจากผู้วิจัยพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้้าในประเทศไทย โดยเฉพาะความเหลื่อมล้้าทางด้าน
เศรษฐกิจเป็นปัญหาส้าคัญของประเทศ โดยจะเห็นได้จากการที่ประเทศไทยติดอันดับ 4 ของประเทศ
ที่มีความเหลื่อมล้้าด้านความมั่งคั่งมากที่สุดในโลก และยังพบว่าความเหลื่อมล้้าทางรายได้ในกลุ่ม
อาชีพเกษตรอยู่ในระดับที่น่ากังวลที่สุด กอรปกับภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเพื่อเป็นกลไก
ในการแก้ไขปัญหาสังคม เนื่องจากวิสาหกิจเพื่อสังคมเป็นกิจการซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักในการแก้ไข
ปัญหาสังคม โดยน้าการบริหารจัดการที่ดีของภาคธุรกิจมาใช้ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน จึงมีความสนใจ
ที่จะศึกษาว่าวิสาหกิจเพื่อสังคมสามารถมีบทบาทในการลดความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจได้อย่างไร
จากผลการศึกษาพบว่า หนึ่งในแนวทางการลดความเหลื่อมล้้าทางด้านเศรษฐกิจ
ที่ส้าคัญคือการขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่กลุ่มผู้มีรายได้น้อย ซึ่งมีความสอดคล้องกับบทบาท
ของวิสาหกิจเพื่อสังคมที่ด้าเนินกิจการด้านการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจผ่านรูปแบบ การสร้างอาชีพให้กับ
ผู้ด้อยโอกาส เป็นคนกลางทางการตลาดเพื่อเพิ่มอ้านาจการต่อรองให้กับกลุ่มเกษตรกร เป็นแหล่งทุนให้
ผู้ด้อยโอกาส รวมถึงการเป็นแหล่งพัฒนาความรู้และทักษะอาชีพ และจากกรณีศึกษาพบว่าโครงการจัดหา
เมล็ดกาแฟฯ ของบริษัท สานพลัง สามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกร 160ครัวเรือน เพิ่มขึ้น 15,000 -30,000 บาท
ต่อครัวเรือนต่อปี ท้าให้เกษตรกรผู้ปลูกกาแฟมีรายได้เพียงพอต่อการด้ารงชีวิต มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และ
ช่วยลดความเหลื่อมล้้าด้านเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามผู้วิจัยเห็นว่าบริษัทสานพลัง สามารถยกระดับในการ
ด้าเนินงานเพื่อให้สามารถช่วยลดความเหลื่อมล้้าทางเศรษฐกิจได้มากขึ้นโดยการเข้าไปมีบทบาทใน
การเพิ่มทักษะและการพัฒนาศักยภาพในการประกอบการให้แก่เกษตรกร การสนับสนุนการต่อยอด
การปลูกพืชแวดล้อมเศรษฐกิจในแปลงกาแฟ และหาช่องทางการตลาดซึ่งช่วยสร้างรายได้เพิ่มให้
เกษตรกร และในอนาคตบริษัทสานพลังอาจขยายบทบาทเป็นผู้สนับสนุนทางด้านทุน อาทิเช่น โรงสีเมล็ด
กาแฟขนาดเล็ก เป็นต้น และจากผลการศึกษาที่พบว่าวิสาหกิจเพื่อสังคมสามารถมีบทบาทส้าคัญในการลด
ความเหลื่อมล้้าทางด้านเศรษฐกิจ ภาครัฐจึงควรสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมให้มากยิ่งขึ้น
โดยมีข้อเสนอแนะดังนี้คือ ควรส่งเสริมและสร้างทัศนคติที่ดีต่อการประกอบกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคม แก้ไข
กฎหมายที่เกี่ยวกับวิสาหกิจเพื่อสังคมให้มีความยืดหยุ่น จัดหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่้าแก่วิสาหกิจ
เพื่อสังคม ตลอดจนการให้การสนับสนุนในการใช้เทคโนโลยีหรือการสร้างนวัตกรรมในการเพิ่มมูลค่า
สินค้าหรือบริการในโครงการของวิสาหกิจเพื่อสังคม
abstract:
Abstract
Title Role of social enterprise in solving economic inequality
Field Economics
Name Mr. Kris Imsang Course NDC Class 62
This research studies roles of social enterprises as drivers to solve economic
inequality and the required enablers to support missions of such enterprises. The subject
enterprise of this research is Sarnpalung Social Enterprise Company Limited (SPSE), which
deploys sustainable farming and trading practice to the indigenous coffee farmers in Thailand.
There are three factors underlying the importance of this research. Firstly,
inequality – especially economic inequality - is the critical issue facing the country. Thailand
ranks 4th on the lists of countries with the worst income inequality. Secondly, across various
economic sectors, agriculturists are groups that suffer the worst inequality. Lastly, the
introduction of public policy to support social enterprises emphasize the importance of
business practice as means to tackle social problems. Based on these factors, this research
focuses on roles of social enterprise under Thailand’s economic development scheme.
From the study, one solution to solve economic inequality is toexpand economic
opportunity to the population at the low income bracket. This conforms to the roles and
business processes of social enterprises: create jobs for people in need, create market and
aggregate demands for agriculturalists to gain bargaining power, and supply required resources –
capital and knowhow. From the case study of SPSE, the community coffee sourcing project
generates additional income for 160 households of farmers for around 15,000-30,000 per
household per year. Such level of income improves living standard for the coffee
farmers and reduces the inequality gap. Nevertheless, SPSE could promote further
impact to bridge the inequality gap by provide training to improve capacity and skills
of coffee farmers, encourage plantations of additional economic crops surrounded coffee
plantations, and create new channel for market to avoid sole reliance on middleman.
Furthermore, as the enterprise matures, SPSE could become provider of capital for the
farmers: finance construction of community mills. As social enterprise demonstrates high
potential to solve economic inequality in Thailand, public sector should provide tools and
support to promote the development of such ecosystem. The proposed recommendations
are to promote positive attitude and awareness towards social entrepreneurship, to adapt
legislation that would allow vital flexibility for social enterprise in conducting business, to
provide source of low-interest capital available to enterprises, and to create environment of
ease for social entrepreneurs– data and processes.