เรื่อง: การยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ, (วปอ.8797)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาววัฒนาพร สุขพรต, (วปอ.8797)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษา
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นางสาววัฒนาพร สุขพรต หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑
การยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษา มีสาเหตุมาจากสภาวะแวดล'อมที่เปลี่ยนแปลง ส)งผล
มีประสิทธิภาพลดลง โดยมีป-จจัยหลัก ๓ ประเด็น ได'แก) ๑) ป-จจัยด'านการเงิน๒) ป-จจัยทางวิชาการ๓)
ป-จจัยทางองค4กรโดยเป5นผลมาจากหลายๆ ป-จจัยที่เกิดขึ้น และต'องมีผลกระทบที่แรง และกดดัน ทําให'
สถาบันอุดมศึกษาต'องเกิดปรับตัวเพื่อความอยู)รอดโดยผู'ที่กําหนดการยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษา
มาจาก ๒ กรณี คือ ๑) หน)วยงานของรัฐที่ดูแลด'านการอุดมศึกษา ๒) ผู'บริหารสถาบันอุดมศึกษากําหนด
เพื่อความอยู)รอด (rescue) และแก'ไขป-ญหาที่เผชิญอยู)
การยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาแบ)งได' ๓ รูปแบบ ได'แก) ๑)รูปแบบตามลักษณะของ
สถาบันอุดมศึกษาที่ถูกยุบหลอมรวม (academic profiles) แบ)งเป5น การยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาที่
จัดการศึกษาในศาสตร4ที่คล'ายกันและการยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาในศาสตร4ที่
แตกต)างกัน ๒)รูปแบบตามผู'ริเริ่มในการยุบหลอมรวมของสถาบันอุดมศึกษา(initiator) แบ)งเป5น
สถาบันอุดมศึกษาสมัครใจและต'องการยุบหลอมรวม (voluntary)และสถาบันอุดมศึกษาที่ไม)ได'สมัครใจ
แต)จําเป5นต'องเข'าร)วมการยุบหลอมรวมเพื่อความอยู)รอด๓) รูปแบบตามผลผลิตของการยุบหลอมรวม
สถาบันอุดมศึกษา (end state)แบ)งเป5น การยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาเดิมทั้งหมด แล'วจัดตั้งเป5น
สถาบันอุดมศึกษาใหม)และสถาบันอุดมศึกษาที่เล็กกว)าถูกยุบตัวลงกลายไปเป5นส)วนหนึ่งของ
สถาบันอุดมศึกษาที่ใหญ)กว)า(takeover)
การดําเนินการยุบหลอมรวมสถาบันอุดมศึกษาที่มาจากการกําหนดนโยบายจากภาครัฐ
โดยสถาบันอุดมศึกษาจะเป5นผู'ดําเนินการวางแผนงานในแต)ละช)วงเวลาให'เหมาะสม ซึ่งอาจพบป-ญหา
และอุปสรรคในการดําเนินงานในขั้นตอนต)าง ๆ ได'ตั้งแต)ขั้นตอนตอนเริ่มต'น ที่เกิดจากการมีข'อมูลที่ไม)
เพียงพอที่จะนําไปสู)การวางแผนขั้นตอนระหว)างดําเนินการ เป5นผลมาจากการดําเนินงานในขั้นเริ่มต'นที่
ผิดพลาด ตัดสินใจไม)ถูกต'อง และขั้นตอนหลังจากการกระบวนการหลอมรวมเสร็จสิ้น มาจากป-ญหา
สําคัญบางประการถูกปSดบังไว' รูปแบบที่เสนอไว'ไม)สามารถนําไปใช'ได' ป-จจัยทางการเมืองที่มีอยู)แล'ว
ความแตกต)างทางวัฒนธรรมองค4กร การขาดการสนับสนุนจากบุคลากร เป5นต'น
abstract:
Abstract
Title The cause of merger of higher educational institutes of
Thailand
Field Social - Psychology
Name Ms.Wattanaporn Sukprot Course NDC Class61
The cause of merger of higher educational institutes of Thailand is changing
in circumstance which decrease their efficiency. That consists of three important
factors as follows: financial factor, academic factor and organizational factor. All of
these could press the institutes to adjust themselves go on. The authoritarian for
merger of higher educational institutes is selected from two agencies: government
agency and the institute, in order to untangle and rescue them from facing problem.
The merging can be classified into three formats as follows: First, the
academic profiles format, it will be done for amalgamation of some institutes that
teaching in related field or assorted one. Second, the initiator format, this merging
originates from institutes’ needs. They may volunteer or enforced to merge. And the
last is end state format which can be categorized as merger, two higher educational
institutes unite to be one institute and acquisition which means a big institute
takeovers other smaller institute.
The information of amalgamation in the past shows there was no any
institute volunteer to do. All cases were administered from the cabinet resolution and
legislate a new act. If the government define an amalgamation, a possible scheme
would be applied for institutes in neighboring area to amalgamate. In case of that,
before merging there should inquire genuine number of higher educational students,
analyze every potent policy to compel institutes to transform, review currently state of
advancement of higher educational institute and budget allocation and study past
amalgamation cases to find pros and cons of each scheme and develop a proper
amalgamation model for Thailand.