Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบรถไฟฟ้าในโครงขายทางคู่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย, (วปอ.8796)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวัชรชาญ สิริสุวรรณทัศน์, (วปอ.8796)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบรถไฟฟาในโครงขายทางคูของการรถไฟแหงประเทศไทย (Railway Electrification on Double Tracking of State Railway of Thailand) ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นายวัชรชาญ สิริสุวรรณทัศนA หลักสูตรวปอ. รุนที่ 61 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคAเพื่อศึกษาวิเคราะหAการกําหนดแผนที่นําทาง (Road Map) การ พัฒนาการใชQระบบรถไฟฟาทดแทนรถไฟดีเซลในโครงขายเสQนทางเดิม และทางคูที่กําลังดําเนินการ ของการรถไฟแหงประเทศไทย ศึกษาปTญหา อุปสรรค ปTจจัยที่ควรมีการเตรียมการในชวงเปลี่ยนผาน (Transition Phase) ในกรณีการดําเนินโครงการรถไฟฟา โดยแบงเสQนทางรถไฟออกเปWนชวงๆ และ ศึกษาแนวทางในการปฏิรูปการใชQเทคโนโลยีของการเดินรถไฟดQวยระบบไฟฟาบนพื้นฐานการเดินรถใน ระบบใหม ขอบเขตของงานวิจัย คือ ขอบเขตดQานเนื้อหาประกอบดQวย การศึกษาวิเคราะหA การ กําหนดแนวทาง รูปแบบ การพัฒนาการใชQระบบรถไฟฟาทดแทนรถไฟดีเซลของรถไฟ ในโครงขาย เสQนทางเดิม และทางคูใหมที่กําลังดําเนินการ ของการรถไฟแหงประเทศไทยเทานั้น โดยมุงเนQนไปที่ ระบบรถไฟชานเมือง (Commuter Train) และรถไฟระหวางเมือง (Intercity Train) ใหQสอดคลQองกับ ยุทธศาสตรAชาติ 20 ป`, การศึกษาแนวคิด กําหนดปTจจัยและชนิดของเทคโนโลยีที่ควรคํานึงเพื่อ เตรียมการในการพัฒนา, เปรียบเทียบแนวทางดําเนินการระบบรถไฟฟาในตางประเทศ ไดQแก ญี่ปุbน อังกฤษ ขอบเขตดQานประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ไดQแก บุคลากรของการรถไฟแหงประเทศไทย กระทรวงคมนาคม ผูQประกอบการเดินรถไฟฟาในไทย และการรถไฟในตางประเทศ วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กับใชQการวิจัยเชิง พรรณนา (Descriptive Research) ประกอบดQวย การรวบรวมขQอมูล ขQอมูลทุติยภูมิจากตําราและ เอกสารตางๆ ขQอมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณAเชิงลึก นักวิชาการดQานขนสง และผูQประกอบการเดิน รถไฟฟา การวิเคราะหAขQอมูล ใชQการวิเคราะหAเนื้อหา (Context Analysis) และการวิเคราะหA เปรียบเทียบ และสังเคราะหAขQอมูลทฤษฎี หลักการตางๆ การนําเสนอขQอมูลแบบรายงานวิจัยเชิง พรรณนาและวิเคราะหAนําเสนอแนวคิดใหมๆ จากการวิจัย ผลการวิจัยพบวาเสQนทางเดินรถที่คุQมคาในการเดินรถไฟฟาตามระยะ Phase ของ การดําเนินการซึ่งสอดคลQองกับแผนงานกอสรQางทางคูของการรถไฟฯ ที่จะกอสรQางแลQวเสร็จ คือ ระยะข ที่ 1 ป` พ.ศ. 2565 – 2569 เสQนทาง ชุมทางบางซื่อ – ชุมทางถนนจิระ, ชุมทางบางซื่อ – หัวหิน ระยะ ที่ 2 ป` พ.ศ. 2570 – 2574 เสQนทาง ชุมทางบQานภาชี – ปากน้ําโพ, ชุมทางถนนจิระ – ขอนแกน, ชุม ทางบางซื่อ – พัทยา ระยะที่ 3 ป` พ.ศ. 2575 – 2579 เสQนทาง หัวหิน – สุราษฎรAธานี, ปากน้ําโพ – พิษณุโลก ในชวงการเปลี่ยนผาน ความสําคัญจะอยูที่เทคโนโลยีของตัวรถจักรและลQอเลื่อนที่ จะนํามาใชQ เพื่อใหQสามารถใชQงานไดQสมประโยชนAมากที่สุด ตัวรถประเภท Bi-Mode จะเปWนตัวเลือก ในชวงเปลี่ยนผานซึ่งสามารถออกแบบใชQไดQทั้งขบวนรถโดยสารและสินคQาไดQ หรือเปWนรถดีเซลราง ประเภทชุด (Train Set) ที่สามารถใชQงานทั้งเสQนทางที่มีระบบจายไฟฟาและไมมีระบบจายไฟฟา ในขณะที่การขนสงสินคQา ยังคงใชQรถจักรดีเซลในการลากทําขบวนตอไปในระยะหนึ่ง โดยขึ้นอยูกับอายุ การใชQงานของรถจักรที่ปกติจะมีอายุการใชQงาน 30 ป` หลังจากนั้น เมื่อเสQนทางรถไฟบนทางคูติดตั้ง ระบบจายไฟฟาครอบคลุมแลQวจึงเปลี่ยนไปใชQรถจักรไฟฟาในอนาคต เทคโนโลยีของการเดินรถไฟดQวยระบบไฟฟาในระบบใหม ที่ตQองดําเนินการควบคูไป ไดQแก ระบบควบคุมรถไฟอัตโนมัติ Automatic Train Protection ซึ่งในโครงการทางคูของการรถไฟ ฯ ที่กําลังดําเนินการกอสรQางอยูและกอสรQางในอนาคตไดQกําหนดใหQใชQมาตรฐาน ETCS Level 1 (European Train Control System) การจายไฟฟาที่เหมาะสมคือ 2 x 25 kv50 เฮิรAต ดังนั้น การกําหนดนโยบายการกอสรQางระบบรถไฟฟา ภาครัฐควรจะตQอง ศึกษาและ วางแผนแมบท (Master Plan) ตQองศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study) ของโครงการและ จัดลําดับแผนงานกอสรQาง ตอดQวยการจัดทํารายละเอียด (Detailed Design) การติดตั้งระบบไฟฟา ตQองคํานึงถึงปริมาณผูQโดยสารและการขนสงสินคQาเปWนหลักในกรณีที่จํานวนผูQโดยสารที่ใชQเสQนทางตอ วันมีไมมากเพียงพอ การลงทุนติดตั้งก็อาจไมคุQมคา ในอีกดQานหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระบบใชQ เครื่องยนตAดีเซล การติดตั้งระบบจายไฟฟาและการเปลี่ยนตัวรถจักรลQอเลื่อนก็จะเปWนประโยชนA มากกวา ในแงของตQนทุนและการบํารุงรักษาของตัวรถจักรลQอเลื่อน รวมถึงคาใชQจายดQานพลังงาน เชื้อเพลิง และสารหลอลื่น รวมกําจัดของเสียจาก สารหลอลื่นตางๆที่ตQองรับผิดชอบในระยะยาว

abstract:

Abstract Research Title: Railway Electrification on Double Tracking of the State Railway of Thailand Field: Economics Name: Watcharachan Sirisuwannatash Course: NDC Class: 61 This research intends to study a road mapfor developing railway electrification as to replace a diesel traction system on theexisting and new double tracking network under construction of State Railway of Thailand. This research will also examine potential challenges that could occur during the transition phase andlay out a preparation guideline for the transition phase.Furthermore this research will study how railway technology could be applied in this electrification. The content of this research will cover an analytical study and framework of developing railway electrification.It exclusively focuses on a process of adopting railway electrification for commuter and intercity trains inline with 20 years - National strategy. This research will study necessary technological factors that should be prepared for the development of the electrificationand compare railway electrification in Japan and England in order to assess which system is more appropriate for our objective. The population criteria in thisstudy will include the State Railway of Thailand’s officers, the Ministry of Transport’s officers, metro operators, and oversea railway operators. Research methodology emphasizes on qualitative and descriptive researchwhich consist of data collection from both primary and secondary sources of evidence, context analysis, comparative analysis, and theoretical synthesis. Interviews with transportation experts and entrepreneurs have been conducted for secondary data. Research results reveal that feasible routes for railway electrification should correspond with construction phasing of double tracking projects. First phasethat would be constructed during B.E. 2565-2569 are Bang Sue – Chira junction and Bang Sue – Hua Hin, while second phase that would be constructed during B.E. ง 2570-2574 areBaan Pha Chi – Pak Nam Pho, Chira junction – Khon Kean, and Bang Sue - Pattayaroutes. The Third phase that would be constructed between B.E. 2575 – 2579 are Hua Hin – Suratthani andPak Nam Pho – Pisanulok. It is most efficient to use Bi-Mode rolling stock during the transition period as the railway systems consist of both electrified and non-electrified lines. Nevertheless, freight transport should continue to use diesel locomotives for its remaining life. After a completion of railway electrification, electric locomotives would be used for freight transport instead. Railway operation technology will incorporate Automatic Train Protection, which is based on a standard of ETCS (European Train Control System) Level 1 and is currently installing on the new double tracking project, and an electric power system with 2 x 25 kv/50 Hertz. Thus, in order to establish railway electrification, the government authority should not only create a master plan for the project but also carry out feasibility study and organize a construction plan as well as detailed design for each phase. Ridership forecast should be studied as a major consideration for both passengerand freight transport before developing the railway electrification; in case of having insufficient ridership, this project may not be feasibleto implement. However, considering from operation and maintenance cost, and energy saving perspectives, railway electrification seems to yield more advantages to dieseltraction systems in the long term.  [As1]: Electrified lines vs non￾electrified lines