เรื่อง: แนวทางการจัดการพื้นที่ป่าและชุมชนดั้งเดิมจังหวัดตาก อย่างยั่งยืน, (วปอ.8785)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ท. เรืองสิทธิ์ มิตรภานนท์, (วปอ.8785)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการจัดการพื้นที่ปาและชุมชนดั้งเดิมจังหวัดตากอยางยั่งยืน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร"และเทคโนโลยี
ผูวิจัย พลโท เรืองสิทธิ์ มิตรภานนท" หลักสูตรวปอ. รุนที่ 61
การวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการพื้นที่ปาและชุมชนดั้งเดิมจังหวัดตากอยางยั่งยืนมี
วัตถุประสงค"ในการศึกษาวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาป0ญหา อุปสรรค ในการจัดการพื้นที่ปาและชุมชนดั้งเดิม
จังหวัดตากอยางยั่งยืน 2) เพื่อหาแนวทาง มาตรการ ในการสร3างกระบวนการมีสวนรวมในการ
จัดการพื้นที่ปาและชุมชนดั้งเดิมจังหวัดตากอยางยั่งยืน การวิจัยครั้งนี้เป5นการวิจัยเชิงคุณภาพ
พื้นที่ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได3แกพื้นที่ ชุมชนบ3านห3วยปลาหลด อําเภอแมสอด จังหวัดตาก ชุมชน
บ3านผาผึ้ง–บ3านศรีคีรีรักษ" อําเภอวังเจ3า จังหวัดตาก และชุมชนบ3าน หินลาด- นาไฮ อําเภอสาม
เงา จังหวัดตาก โดยวิธีการศึกษาจากเอกสาร บทความ งานวิจัย กฎ หมายตางๆที่เกี่ยวข3องกับปาไม3
การสัมภาษณ"เชิงลึก การสนทนาแบบ Focus Group และการสนทนาแบบ World Café ผู3ให3
ข3อมูลหลักได3แกผู3ทรงคุณวุฒิ, เจ3าหน3าที่ปาไม3 และผู3นําชุมชนในพื้นที่ จํานวน 60 คน
ผลการศึกษาวิจัยพบวา แนวทางการจัดการพื้นที่ปาและชุมชนดั้งเดิมจังหวัดตากเพื่อ
ความยั่งยืน 1) สิ่งที่ยังเป5นป0ญหาและอุปสรรคตอการจัดการพื้นที่ปาอยางยั่งยืนคือ การได3รับแรง
ตอต3านจากชุมชนดั้งเดิม และกลุมนายทุน ข3อจํากัดทางกฎหมาย นโยบายที่ขัดกันเองที่เป5นอุปสรรค
ตอการพัฒนา การยกระดับอาชีพรายได3และสงเสริมให3มีตลาดชุมชนในชุมชน การได3รับการจัดสรร
งบประมาณเพื่อพัฒนาชุมชน สาธารณสุขขั้นพื้นฐานยังไมได3รับการพัฒนาเพื่ออํานวยความสะดวก
ให3กับชุมชน ความตอเนื่องของเจ3าหน3าที่ที่มาปฏิบัติงานในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติ ป0ญหาการขาด
แคลนน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค และน้ําเพื่อการเกษตร ป0ญหาเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ทํากิน และ
ป0ญหานายทุนเข3ามาบุกรุกที่ดินซึ่งการแก3ไขป0ญหาตาม ที่กลาวมา ภาครัฐจะต3องแก3ไขป0ญหาดังกลาว
ให3เป5นรูปธรรม 2) แนวทางในการสร3างกระบวนการมีสวนรวมในการจัดการพื้นที่ปาและชุมชน
ดั้งเดิม พบวา กระบวนการมีสวนรวมต3องเริ่มจากกระบวนการ มีสวนรวมในระดับครอบครัวและ
ชุมชน, กระบวนการมีสวนรวมในระดับท3องถิ่น และกระบวนการมีสวนรวมในระดับประเทศ
นอกจากนั้นแล3วยังพบวาภาวะผู3นํา และจารีตประเพณี ความเชื่อในหลักศาสนา นั้นมีความสําคัญ
ตอ การจัดการพื้นที่ปาและชุมชน จังหวัดตาก อยางยั่งยืน และจากการวิจัยพบวา แนวทางการ
จัดการพื้นที่ปาอยางยั่งยืน จะต3องมีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ การสร3างความตระหนักรู3และ
หวงแหนทรัพยากรธรรมชาติโดยไมต3องปลูกปา การใช3ปาเป5นแหลงเรียนรู3ให3เกิดประโยชน"ทั้งด3าน
สิ่งแวดล3อมสังคมและเศรษฐกิจ การสงเสริมให3มีกิจกรรมสงผานจากรุนสูรุน และการจัดให3มีพันธะ
สัญญาของชุมชนรวมกันในการรักษาปา การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อยกระดับรายได3ให3กับ
ชุมชนการใช3หลักธรรมาภิบาล เป5นแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่ปา การสร3างความเสมอภาค
ความเข3มแข็งให3เกิดขึ้นในชุมชน อยางยั่งยืนการบูรณาการให3คนกับปาอยูรวมกันได3อยางสันติสุข
ตลอดจนการนําเครื่องมือเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข3ามาพัฒนาศักยภาพ เพื่อให3เกิดความยั่งยืนในการ
อนุรักษ"ทรัพยากรธรรมชาติ
abstract:
Abstract
Title Forestand old community management approach for
sustainability of Tak Province
Field Science and Technology
Name LT.GEN.Ruangsit Mitrapanont Course NDC Class 61
The objectives of this research are as follows: 1) to study its problem
and dilemma of forest and old community management approach for sustainability
of Tak Province, 2) to find the way and measure of its participation in order to
sustainable management for forest and old community approach of Tak Province.
This research is qualitative approach. The 3 Community of this study are as follows:
1) Banhuayplalod Community, Maesord District, Tak Province, 2) Banphaphueng –
Bansrikirirak Community, Wangchao District, Tak Province, 3) Banhinlard – Nahai
Community, Sam-ngao District, Tak Province. The data of this research are collected
from document, article, research, law and regulation of forestry concernment, indepth interview, focus group dialogue, and World Café dialogue. The 60 interviewees
comprise of forestry expertise, forestry officials, and community leaders.
The finding of this research are as follows: 1) the remaining of its
problems and dilemmas that have to be solved are as follows: the resistance of old
community and investment group, law and regulation dilemmas, different policies
that obstruct to development, the improvement of income and community market
promotion, the fiscal allocation for community development, fundamental health
care that need to be managed for community development, the need of long
duration of officials transfer that working within national park, water shortage for
drinking, daily life and agricultural concernment, the problem of landlord, and the
problem of rich person that invade into the forest. These problems and dilemmas
need to be urgent managed by governmental agency. 2) In case of the way and
measure of its participation in order to sustainable management for forest and old
community approach, the finding of this research is the participation must be primary
begun from family and community, and must be followed by regional level and
national level. Furthermore, the finding of this research are as follows: leadership
and local custom including religious belief are important to sustainable management
for forest and community in Tak Province, and forestry sustainable management
must has the approach to solve the problem. The approaches of forestry sustainable
management are to awareness for people to take care of natural resources without
forestation, the use of forest to be learning center for environment, social, and
economy, the activity promotion project of people from old generation to new
generation, provide its agreement of community to preserve the forest, ecotourism
promotion in order to encourage income of people in community, the use of good
governance for forest management approach, the promotion of civil rights, the
promotion of the community strength in order to sustainable integration for
happiness of human while living in the forest. Moreover, the research is found that
the use of modern technology to promote sustainable natural resources preservation
is very important as well.