เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างความตระหนักรู้ในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี, (วปอ.8750)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายพัฒน์ชรัช รัตนศุทธพบูลย์, (วปอ.8750)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการเสริมสร
างความตระหนักรู
ในการดูแลตนเองของผู
สูงอายุ
ในจังหวัดนนทบุรี
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู
วิจัย นายพัฒน"ชรัช รัตนศุทธพบูลย" หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
การศึกษาเรื่อง แนวทางการเสริมสร
างความตระหนักรู
ในการดูแลตนเองของผู
สูงอายุ
ในจังหวัดนนทบุรี มีวัตถุประสงค"เพื่อศึกษา 1) สภาพป1จจุบันเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู
สูงอายุ
ในจังหวัดนนทบุรี 2) ป1ญหาในการดูแลสุขภาพของผู
สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี และ 3) เสนอแนวทาง
การเสริมสร
างความตระหนักรู
ของผู
สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี รวบรวมข
อมูลจากผู
สูงอายุในจังหวัด
นนทบุรี จํานวน 400 คน โดยใช
แบบสอบถาม เป9นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข
อมูล และเอกสาร
วิชาการ และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข
อง วิเคราะห"ข
อมูลโดยใช
โปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร" สถิติ
ที่ใช
ในการวิจัย ได
แก< ค<าร
อยละ ค<าเฉลี่ย ส<วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สําหรับเชิงคุณภาพวิเคราะห"ข
อมูล
จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข
องสรุปผลการวิจัยได
ดังนี้
ผลการวิจัยพบว<า สภาพป1จจุบันเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู
สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี
พบว<า ผู
สูงอายุ มีการรับรู
ข<าวสารอยู<ในระดับมาก โดยมีการรับรู
ข<าวสารอยู<ในระดับมากที่สุดในด
าน
สื่ออิเล็กทรอนิกส" รองลงมาด
านสื่อบุคคล ด
านสื่อสิ่งพิมพ" และมีการรับรู
ข
อมูลข<าวสารน
อยที่สุด
ในด
านสื่อเฉพาะกิจ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู
สูงอายุ พบว<า ผู
สูงอายุมีการปฏิบัติอยู<ใน
ระดับมาก โดยมีการปฏิบัติอยู<ในระดับมากที่สุดในด
านการออกกําลังกาย รองลงมาคือ ด
านการบริโภค
อาหาร และมีการปฏิบัติน
อยที่สุดในด
านการติดต<อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สําหรับป1ญหาและอุปสรรค
ในการดูแลสุขภาพตนเองของผู
สูงอายุพบว<า ผู
สูงอายุส<วนใหญ<ประสบป1ญหาในเรื่อง ขาดความรู
ในการ
ดูแลตนเอง รองลงมาคือ ไม<อยากร<วมกิจกรรมต<างๆ ในชุมชน และกลุ<มเพื่อนผู
สูงอายุด
วยกัน และ
ผู
สูงอายุคิดว<าการดูแลเป9นหน
าที่ของบุตรหลาน พี่เลี้ยง แพทย" พยาบาล แนวทางการเสริมสร
างความ
ตระหนักรู
ของผู
สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี ผู
วิจัยขอเสนอแนวทาง 5 ด
าน ดังนี้ 1) ด
านการรับรู
สื่อ
สารสนเทศเกี่ยวกับสุขภาพ 2) ด
านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางกาย 3) ด
านความแข็งแรงของ
สุขภาพในมิติทางจิตใจ 4) ด
านความแข็งแรงของสุขภาพในมิติทางสังคมและเศรษฐกิจ 5) ด
านความ
แข็งแรงของสุขภาพในมิติทางป1ญญา และกําหนดยุทธศาสตร"การเสริมสร
างความตระหนักรู
ในการ
ดูแลตนเองของผู
สูงอายุในจังหวัดนนทบุรี ดังนี้ 1) การให
บริการด
านสุขภาพอนามัยอย<างทั่วถึงและ
มีคุณภาพ 2) การสร
างสังคมแห<งการเรียนและส<งเสริมภูมิป1ญญาผู
สูงอายุ 3) การจัดสวัสดิการ
นันทนาการผู
สูงอายุ 4) ความมั่นคงและปลอดภัยในที่อยู<อาศัย 5) ความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย"สิน และ 6) การจัดสวัสดิการกองทุนผู
สูงอายุ
ข
อเสนอแนะ หน<วยงานที่เกี่ยวข
องควรมีการส<งเสริมการมีส<วนร<วมของครอบครัว
ชุมชน สังคมให
มีบทบาทและมีส<วนสนับสนุนให
ความเอาใจใส<ให
กําลังใจในการดูแลตนเองของ
ผู
สูงอายุ
abstract:
Abstract
Title Guidelines for Enhancing Awareness of Self-care among the
Elderly in Nonthaburi Province
Field Social Psychology
Name MR.Patcharat Rattanasuthaphaboon Couse NDC Class 61
The study of guidelines for enhancing awareness of self-care among the
elderly in Nonthaburi Province aimed to study 1) current condition regarding health
care of the elderly in Nonthaburi Province, 2) problems in health care of the elderly
in Nonthaburi Province and 3) propose guidelines for enhancing awareness of the
elderly in Nonthaburi Province. The data had been collected from 400 elderly
people who lived in Nonthaburi Province by using questionnaire as a tool including
academic documents and related researches. Data then was analyzed by using
computer program while the statistics used in data analysis consisted of percentage,
means and standard deviation. For qualitative, the researcher had analyzed data
from documents and related researches. The results were as follow:
The findings were indicated as follows: The current condition regarding
health care of the elderly in Nonthaburi Province, the research found that the
elderly had information perception at high level with the highest level of information
perception in electronic media, followed by personal media, print media and had
lowest level of perception in specialized media. About health care behavior of the
elderly, the research found that the elderly had a high level of practice with the
highest level of health care practice on exercise, followed by food consumption
while they had lowest level of practice on effective communication. For problems
and obstacles in health care of the elderly, the research found that most of the elderly
suffered from lacking of knowledge in self-care, followed by denial on participation in
various activities in the community and group of same age friends. Moreover, the elderly
thought that their health care was the duty of their children, nannies, doctors and
nurses. Guidelines for enhancing awareness of the elderly in Nonthaburi Province, the
researcher would like to propose 5 ways as follows: 1) the media perception on
health care, 2) the physical health strength, 3) the mental health strength, 4) the
social and economic health strength, 5) the intellectual health strength. Strategies
formulated for enhancing awareness of self-care among the elderly in Nonthaburi
Province were as follow: 1) providing quality health services thoroughly, 2) creating a
learning society and promoting elderly wisdom, 3) elderly recreation welfare, 4)
stability and safety in the housing, 5) safety in life and property, and 6) elderly fund
welfare.
Suggestions from research, related agencies should promote family,
community, and society participation to play a role and contribute to the care and
encouragement in self-care of the elderly.