เรื่อง: การศึกษาความเป็นไปได้ของการขยายโครงการจักรยานสาธารณะ กรงุเทพมหานคร (ปั่นปั่น), (วปอ.8726)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายบรรจง วิจักขณวงศ์, (วปอ.8726)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการขยายโครงการจักรยานสาธารณะ
กรุงเทพมหานคร (ปันปั่น)
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายบรรจง วิจักขณวงศ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการให้บริการของโครงการฯ
และศึกษาความต้องการใช้จักรยานสาธารณะของประชาชนที่อาศัยอยู่นอกเขตการให้บริการรวมทั้ง
ศึกษากายภาพของเส้นทางสัญลักษณ์ สิ่งอ านวยความสะดวกในการใช้บริการ ศึกษารูปแบบของสถานี
และระบบการยืม-คืนที่เหมาะสมที่สุดส าหรับการขยายพื้นที่การให้บริการ โดยมีขอบเขตการวิจัย
ประกอบไปด้วย ด้านเนื้อหาและการพิจารณาถึงความเหมาะสม การวิจัยครั้งนี้เน้นการวิเคราะห์
กระบวนการและรูปแบบการให้บริการเดิมซึ่งศึกษาในระดับความเป็นไปได้ ไม่ลงลึกในรายละเอียด
ระดับปฎิบัติการเน้นเฉพาะหลักการหรือรายละเอียดที่สามารถเปิดเผยได้เท่านั้น ด้านประชากร
ซึ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในช่วงอายุ ๑๕-๖๐ ปี สามารถขี่จักรยานได้ โดยอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร
ในพื้นที่พระนคร ป้อมปราบศัตรูพ่าย สัมพันธวงศ์ ปทุมวัน บางรัก ยานนาวา บางคอแหลม ดุสิต บางซื่อ
พญาไท ราชเทวี จตุจักร ดินแดง พระราม ๙ ห้วยขวาง คลองเตย สุขุมวิทเป็นต้น และอีกด้านคือ
ด้านเวลา การวิจัยครั้งนี้ด าเนินการในช่วงเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๑-เมษายน ๒๕๖๒ ดังนั้นจึงก าหนด
วิธีด าเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบ่งเป็น การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ
โดยการศึกษาจากต าราเอกสารต่างๆ และข้อมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง
จ านวนไม่น้อยกว่า ๕๐๐ ราย และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความถี่ ความเหมาะสม
ทางวิศวกรรม ทางการเงิน และทางเศรษศาสตร์ และท้ายสุดโดยการน าเสนอสรุปข้อมูลในรูปแบบ
รายงานผลการศึกษาความเป็นได้ในการจัดท าโครงการ
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา
และน าไปสู่การพิจารณาขยายพื้นที่การให้บริการให้กว้างขึ้นและเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนตาม
วัตถุประสงค์ของกรุงเทพมหานคร การเดินทางเชื่อมต่อ ล้อ ราง เรือ ทั่วเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และเป็นความพยายามที่จะน าเสนอหลักการและเหตุผล เพื่อสะท้อนความเป็นจริงถึงความต้องการ
อยากใช้บริการของประชาชนที่อาศัยอยู่นอกพื่นที่เขตการให้บริการ และเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
พิจารณาด าเนินการพัตนาโครงการจักรยานสาธารณะกรุงเทพมหานครต่อไปในอนาคต
abstract:
Abstract
Title : Feasibility Study of Public Bicycle Extension Project Bangkok
Field : Social – Psychology
Name : Mr.Bunjong Wijackanawong Course NDC Class 61
The objective of the research is to study the current condition of the
project services, And study the needs of public bicycles for people living outside the
service area, Including the study of physical routes, and Service facilities and Study the
form of the station and the loan system that is most suitable for expanding the area.
With research scope consisting of Content and consideration of suitability and Without
delving into the secret details, With a target group aged 15-60 years Can use a bicycle
and Live in inner Bangkok, This research was conducted during November 2018 - April
2017. Therefore, determining methods of conducting qualitative research By collecting
secondary data and Primary information, By collecting not less than 500 samples, Data
analysis using frequency analysis and Appropriateness in financial and economic
engineering, Present a summary of the results of the feasibility study report.
Therefore, information has been collected which may be useful for
education, And lead to the consideration of expanding service areas Connect the mass
transportation system according to the objectives of Bangkok And is an attempt to
present principles and reasons To know the needs of people living outside the service
area, And to be used as a guideline in considering future implementations of the
Bangkok Public Bicycle Project.