Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: องค์ประกอบความสำเร็จการพัฒนานักกีฬาฟุตบอล เยาวชนไทยสู่นักกีฬาฟุตบอลอาชีพ, (วปอ.8683)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายทนุเกียรติ จันทร์ชุม, (วปอ.8683)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง องค์ประกอบความส าเร็จการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนไทยสู่นักกีฬา ฟุตบอลอาชีพ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย นายทนุเกียรติ จันทร์ชุม หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 61 การศึกษาองค์ประกอบความส าเร็จการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนไทยสู่นักกีฬา ฟุตบอลอาชีพมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนไทย สู่นักกีฬาฟุตบอลอาชีพของนานาชาติและประเทศไทย 2. เพื่อเปรียบเทียบรูปแบบการพัฒนานักกีฬา ฟุตบอลเยาวชนไทยกับรูปแบบการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนของนานาชาติ 3. เพื่อศึกษา องค์ประกอบความส าเร็จการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนไทยสู่นักกีฬาฟุตบอลอาชีพ และ เสนอแนะแนวทางการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนไทยสู่นักกีฬาฟุตบอลอาชีพ ครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) ร่วมกับเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลส าคัญ ได้แก่ ผู้บริหารกิจการฟุตบอล ผู้ฝึกสอน นักกีฬาฟุตบอลที่ประสบความส าเร็จ เป็นต้น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าส าหรับประเทศไทยมีกลไกหรือศูนย์กลางการพัฒนา นักกีฬาฟุตบอลเยาวชน คือ โรงเรียน ซึ่งเป็นศูนย์บ่มเพาะความสามารถด้านฟุตบอลให้กับเยาวชน โดยมีความแตกต่างกันไปตามความพร้อมและการสนับสนุนของแต่ละโรงเรียน ขณะที่นานาชาติพบว่า การพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชน มีศูนย์กลางการพัฒนาที่อะคาเดมีฟุตบอลของแต่ละสโมสร เป็น กลไกหลักในการพัฒนาเยาวชน ตามโปรแกรมฝึกซ้อม โค้ช และทีมงานด้านต่าง ๆ ที่เป็นมืออาชีพ เพื่อพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนจากรุ่นสู่รุ่นเพื่อให้ก้าวไปเป็นนักกีฬาฟุตบอลอาชีพในล าดับต่อไป ส่วนองค์ประกอบความส าเร็จการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนไทยสู่นักกีฬาฟุตบอลอาชีพพบว่าควร มุ่งเน้นการลงทุนและสนับสนุนอย่างเป็นระบบโดยภาพรัฐเป็นผู้ริเริ่มเพื่อสร้างโครงสร้างต่าง ๆ ให้เหมาะสมและเอกชนน าไปปฏิบัติต่อ เป็นการลดต้นทุนให้ภาคเอกชนเพื่อให้สามารถจัดสรร ทรัพยากรและลงทุนกับการพัฒนานักกีฬาฟุตบอลเยาวชนได้อย่างเหมาะสม มิติองค์ประกอบ ความส าเร็จ 5 ประการ ได้แก่ มิติด้านการพัฒนาระบบ มิติการสร้างรูปแบบการเล่น มิติการพัฒนา ผู้ฝึกสอน มิติการพัฒนาระบบอะคาเดมี่ และมิติการพัฒนาเยาวชน

abstract:

Abstract Title Factors Contributing to the Successful Development of young Thai Football Players to the Professional Level Field Social - Psychology Name Mr. Tanukiat Junchum Course NDC Class 61 The objectives of this study were to : 1) study the patterns for the development of young football players to the professional level in Thailand and the foreign countries; 2) compare the pattern for the development of young football players in Thailand with the foreign countries and 3) identify factors contributing to the successful development of young Thai football players to the professional level and provide recommendations for the successful development of football. This study was qualitative research which using a form of research namely a documentary research document. The data was gathered from the in-depth interviews with three groups of people who are related to football–including top executives/managers, coaches, and successful football players. The study found that the mechanism driven to the development of youth football players in Thailand and the foreign countries was different. The development of young football players in Thailand mainly relied on readiness and support from the young players’ schools where they practice football. For foreign countries, football academy of each football club was the main mechanism that contributes to the development of young football players. Most of the clubs have their own professional coaches and officials who are experts in football so that their young players can get the appropriate and efficient training system leading to great development. Moreover, well practicing system will help to produce the next generation of professional players in no time. For the factors contributing to the successful development of young football players to the professional players, the results suggested that it should start from the government by giving systematically support and investment in order to make an initial well-planned structure. Then, the government should let private sectors to take over of implementing football development programs. The government’s support will help the private sectors to reduce their costs. Lastly, the study concluded that there were five dimensions leading to the successful development of young football players, namely system development dimension, formation of the patterns of play dimension, academy development system dimension, and youth development dimension.