Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การกำหนดบทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนงาน ด้านความมั่นคงให้กับกองอำนวยการรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร หลังปี พ.ศ.๒๕๖๔, (วปอ.8651)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. เจริญชัย หินเธาว์, (วปอ.8651)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การก าหนดบทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนงานด้านความมั่นคง ให้กับกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หลังปี พ.ศ.๒๕๖๔ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลตรีเจริญชัย หินเธาว์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑ เอกสารวิจัยเรื่อง “การก าหนดภารกิจและบทบาทของกองทัพในการสนับสนุน กอ.รมน.” มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิดของ พลโท ประยุทธ์ จันทร์โอชา แม่ทัพภ าคที่ ๑ (ยศและต าแหน่งในขณะนั้น) จากเอกสารวิจัย วปอ. เรื่อง “ก า รป รับบทบ าทของกองทัพไทย เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ พ.ศ.๒๕๕๑” เพื่อศึกษาภัยคุกคามความมั่นคงของป ระเทศ ตั้งแต ่อดีตจนถึงปัจจุบัน แล้วป ระเมินภัยคุกค าม หลังปี ๒๕๖๔ และเพื่อก าหนดบทบาท ของกองทัพไทยในการสนับสนุนงานด้านความมั่นคงให้กับ กอ.รมน. หลังปี พ.ศ.๒๕๖๔ ผลการวิจัย พบว่า พลโท ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นผู้น าเอาแนวคิดภัยคุกคามรูปแบบใหม่ มาใช้ในทางวิชาการ ด้านความมั่นคงอย่างเป็นทางการเป็นคนแรก และเป็นต้นก าเนิดของการผลักดันให้เกิดโครงสร้าง กอ.รมน. สมัยใหม่ ส่วนผลของการประเมินภัยคุกคามที่ผ่านมาตั้งแต่อดีตขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ในระดับโลกระดับภูมิภาคและระดับประเทศ โดยภ ายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ภัยคุกคามที่ส าคัญคือคอมมิวนิสต์ ต่อเนื่องมาจนถึงการยกเลิกพระราชบัญญัติ คอมมิวนิสต์ ในปี ๒๕๔๓ ต่อมาเกิดวิกฤตเศรษฐกิจใน ปี พ.ศ.๒๕๔๐ จนต้องเข้าสู่โครงการ กู้เงินจากกองทุน การเงินระหว่างประเทศ พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นห้วงของความแตกแยกทางความคิดเห็นทางการเมือง ภายในประเทศ การเข้ามารักษาเสถียรภาพโดย คมช. ท าให้เกิดการผลักดันให้มีพระราชบัญญัติ รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ และเป็นผลให้ กอ.รมน. มีการปรับโครงสร้าง อย่างต่อเนื่อง จากปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๒ นับว่า กอ.รมน. เป็นองค์กรหลักด้านความ มั่นคง โดยเน้น ด้านการบูรณาการและขับเคลื่อนร่วมกับหน่วยงานความมั่นคงอื่น ๆ ผลการศึกษายังพบว่าภัยคุกคาม ในยุคหลังปี ๒๕๖๔ อันเป็นผลจากการพัฒนาการด้านเทคโนโลยีและการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ ๔ น าสู่ภาวะความปั่นป่วนทางเทคโนโลยี ดังนั้นการก าหนดบทบาทของกองทัพไทย ในการสนับสนุนงาน ด้านความมั่นคงให้กับ กอ.รมน. จ าเป็นต้องมีความอ่อนตัวในการประเมินติดตามภัยคุกคาม ที่แปรเปลี่ยนให้ทันเวลา น าเอาเทคนิค และองค์ความรู้ใหม่ๆ มาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ ควรเป็นไปในกรอบส าคัญคือ อ านาจหน้าที่ กอ.รมน. ต้องเป็นหน่วยบูรณาการ ขับเคลื่อน หน่วยงาน ความมั ่นคงอื ่น ๆ ให้เป็นรูปประธรรม ที ่มุ ่งเน้นเอกภาพในความพยายาม มากกว ่าเอกภาพ ในการบังคับบัญชา การบริหารจัดการนั้น เกี่ยวพันกับการก าหนดระดับปฏิบัติการเป็นระดับยุทธการ ก าหนดงานเป็นแผนกลยุทธ ส่วนการจัดโครงสร้างองค์กรให้รองรับบทบาทหน้าที่ เกี่ยวข้องกับแนวคิด การจัดองค์กร เพื่อตอบสนองงานบูรณาการ มีระบบฐานข้อมูลร่วม เทคนิคบริหารและการตัดสินใจ ใหม่ๆ ที่มีความอ่อนตัวและมีลักษณะเป็นคู่ขนาน

abstract:

Abstract Title The Roles Of RTAF In Support Of ISOC Beyond 2021 Field Military Name Major General Charoenchai Hinthao Course NDC Class 61 The objectives of the thesis are to learn the mindset of Gen.Prayuth Jan-o-cha on security in terms of non-traditional threats through his NDC thesis on "Roles and Responsibility Reform of RTAF Against the Non-traditional Threats”(2008). Additionally, it will assess national threats past, present and future; and set the roles of RTAF in support of ISOC beyond 2022. The finding confirms all the objectives and found that Gen. Prayut was the first Thai officer who applied the terms "non￾traditional threats" in the security dimension and founded the modern ISOC organization. Assessing the threats to Thailand from post-WW II, the thesis found that the threats determined by global environment down to regional varied from security, economic, political, socio-psychology to technology. Beyond 2022 the global threat would be infuenced by the disruptive technological era. The ISOC, as the principal organization to integrate and mobilize other authorities to the implementation process, has to adapt its rolls and structure organization to be more adaptable to disruptive threats. The three key factors are an authority, which ISOC has to define its own missions more clearly and focus on the unity of effort more than the unity of command. Management ,the second key factor ,means ISOC's mission is the operational level, with the ISOC focus on a operational action plan rather than a strategic one. The last key factor is re-structuring of the organization, to better facilitate integration and mobilization. ISOC should have a new technique of organizing like B2C2WGs or planning techniques like simultaneous procedure, such as Campaign Planning Procedure (CPP).