เรื่อง: การพัฒนาเกษตรกรปาล์มน้ำมันของประเทศไทยให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้อย่างยั่งยืน, (วปอ.8643)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางจันทร์ทิพย์ วานิช, (วปอ.8643)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
เรื่อง การพฒั นาเกษตรกรปาลม
์
น้า มนัของประเทศไทยให
้สามารถแข่งขนัในตลาดโลก
ไดอ
้
ยา่ งยงั่ ยนื
ผู้วจิัย นางจันทร์ทิพย์ วานิช หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่61
ต าแหน่ง กรรมการบริษทั ยนู ิวานิชน้า มนั ปาลม
์
จา กดั (มหาชน)
เกษตรกรผปู้ลูกปาลม์ น้า มนั ในประเทศไทยถือเป็นเกษตรกรรายยอ่ ยมีจา นวนมากกวา่
90% ของพ้ืนที่ปลูกท้งัหมดในประเทศโดยเฉลี่ยมีพ้ืนที่ปลูกน้อยกวา่ 50 ไร่ต่อครัวเรือน ถึงแมว้่า
ในประเทศไทยจะมีการปลูกปาล์มในรูปแบบบริษทัอยูบ่ า้งแต่มีขนาดเล็กมากเป็นเพียงหลกั 3-4 หมื่นไร่
เมื่อเทียบกบั ประเทศมาเลเซียหรืออินโดนีเซียที่แต่ละบริษทั มีนับแสนไร่ข้ึนไปเกษตรกรผูป้ ลูก
ปาล์มน้า มนัรายยอ่ ยมกั มีปัญหาคลา้ยคลึงหรือเช่นเดียวกบั เกษตรกรที่ปลูกพืชอื่นๆ ไม่วา่ จะเป็น ขา้ว
ยางออ้ย มนั สา ปะหลงั ฯลฯ กล่าวคือไดร้ับผลผลิตต่า คุณภาพผลผลิตไม่ไดม้าตรฐาน ตน้ ทุนการผลิตสูง
ขาดเงินทุนทา ให้ไม่ใส่ปุ๋ยหรือใส่ได้ไม่เพียงพอ ค่าปุ๋ยและสารเคมีกา จดัวชั พืช โรค และแมลง
มีราคาสูงราคาผลผลิตต่า กว่าราคาทุน นอกจากน้ียงัมีปัญหาเรื่องภยัแลง้ หรือน้า ท่วม ฝนฟ้าไม่อา นวย
ตามฤดูกาลวิธีการแกป้ ัญหาเกษตรกรของทางราชการส่วนใหญ่โดยการเขา้ไปประกนัราคารับซ้ือหรือ
จา นา สินคา้หรือช่วยเหลือดา้นปัจจยัการผลิตหรือลดดอกเบ้ียเงินกูธ้นาคารรวมท้งัแนะนา ให้เกษตรกร
ลดพ้ืนที่ปลูกและหนัไปปลูกพืชอื่นแทน ไม่ไดแ้กป้ ัญหาในระยะยาวที่แทจ้ริงหรือตน้ เหตุของปัญหา
ในฤดูกาลที่ผลผลิตออกมาสู่ตลาดมากราคาของปาล์มน้า มนัจะมีราคาต่า ลงเป็นวฏัจกัร
เกษตรกรรายยอ่ ยของประเทศไทยที่มีตน้ ทุนสูงจึงไม่สามารถส่งออกไดใ้นราคาที่ขาดทุน ทา ให้ผลผลิต
ในประเทศคงตกค้างอยู่ในประเทศมากข้ึนเรื่อยๆ ทา ให้กดดันราคาในประเทศไม่ให้ยืนอยู่ได้
แต่กลบัลดต่า ลงเรื่อยๆ ดว้ยเหตุขา้งตน้ ที่กล่าวมาน้นั จึงเป็นเหตุให้มีการประทว้งต่อทางราชการให้
เขา้มาดูแลโดยขอใหป้ ระกนัราคาพืชผลในช่วงดงักล่าวเป็นประจา ทุกปี
เหตุการณ์น้ีมีแนวโนม้วา่ จะเลวร้ายยิ่งข้ึนเรื่อยๆ เนื่องจากในทศวรรษที่ผา่ นมามีเกษตรกร
จา นวนมากปรับเปลี่ยนพืชสวนตนเองมาปลูกปาล์มน้า มนัแทนยางแนวทางการแกป้ ัญหาปัจจุบนั
ที่พยายามผลกั ดนั ใหผ้ลผลิตที่เกินจากการบริโภคถูกนา ไปใชใ้นอุตสาหกรรมไบโอดีเซลมากยงิ่ ข้ึน
เป็นเพียงมาตรการบรรเทาชวั่ คราวระยะกลางอุตสาหกรรมรถยนตเ์องก็ยงัไม่พร้อมเต็มที่ที่จะหนั มาใช้
น้า มนั ไบโอดีเซลอย่างเต็มตวั การแกป้ ัญหาให้ตรงต่อสาเหตุจึงน่าจะเป็นการแกป้ ัญหาอย่างถาวร
กวา่ มาตรการรัฐบาลในปัจจุบนั ซ่ึงตอ้งใชเ้งินเป็นจา นวนมากและมีแนวโนม้ ที่จะสูงมากข้ึนอีกในอนาคตข
เนื่องจากน้า มนั ปาลม์ เป็นวตัถุดิบที่ไดจ้ากปาล์มน้า มนั ที่เกษตรกรเป็นผูป้ลูกจึงถือเป็ น
อุตสาหกรรมตน้ น้า หากการปลูกปาล์มน้า มนั เป็นไปอยา่ งไม่มีประสิทธิภาพ มีตน้ ทุนการผลิตสูง ท าให้
ราคาวัตถุดิบสูงตามไปด้วย ชึ่งจะมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกลางน้า ซ่ึงรวมถึงโรงงานสกดัน้า มนั
ปาล์มและอุตสาหกรรมปลายน้า ซ่ึงหมายถึงโรงงานกลนั่ น้า มนั ปาล์มบริสุทธ์ิตลอดจนอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องต่าง ๆ จะทา ให้อุตสาหกรรมไทยท้งัระบบไม่สามารถแข่งขนั ท้งัในตลาดภายในประเทศและ
ต่างประเทศได้การควบคุมตน้ ทุนใหต้่า จึงเป็นปัจจยัสา คญั ในเรื่องการแข่งขนั ในระยะยาว
จากการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการปลูกปาล์มน้ ามันระหว่างเกษตรกรของไทย
แต่ละประเภทพบว่าระบบการปลูกปาล์มน้า มนั ในรูปบริษทั มีประสิทธิภาพสูงสุด เนื่องจากระบบ
การปลูกปาล์มน้า มนั ในรูปบริษทั มีพ้ืนที่ปลูกขนาดใหญ่ มีตน้ ทุนการผลิตที่ต่า ให้ผลตอบแทนที่ดี
สุด ผู้รับผิดชอบมีประสบการณ์ด้านการจดัการและความรู้เรื่องปาล์มน้ ามันมาเป็นอย่างดีหรือ
ที่เรียกวา่ เป็นมืออาชีพ มีโครงสร้างการบริหารงานชดัเจน ต้งัแต่ระดบัผจู้ดัการจนถึงระดบั หวัหนา้แผนก
หัวหน้างานและคนงาน มีการควบคุมการทา งานอยา่ งใกลช้ิดและอยา่ งเป็นระบบลงในรายละเอียด มีการ
ลงทุนในด้านพัฒนา เทคโนโลยีรวมท้ังด าเนินงานวิจัยและพัฒนาด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
นอกจากน้ีการดา เนินงานในรูปบริษทั ยงัสามารถปฏิบตัิตามมาตรฐานสากลท้งัในระดบั ประเทศ
และระหว่างประเทศไดง้่ายกว่าผูป้ลูกประเภทอื่น ๆ ในกรณีที่ตอ้งส่งออกน้า มนั ปาล์มไปต่างประเทศ
ซ่ึงเป็นเกียรติภูมิของประเทศอีกทางหนึ่ง
ดงัน้นั การที่เกษตรกรรายยอ่ ยค่อยๆ รวมกลุ่มเพื่อบริหารจดัการในรูปแบบของบริษทัใหญ่
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อให้ลดตน้ ทุนลง ใหส้ ามารถแข่งขนัไดอ้ยา่ งยงั่ ยนื จะเป็ น
แนวทางที่มนั่ คงท้งัทางเศรษฐกิจและสังคมในระยะยาวสา หรับประเทศไทย
abstract:
ABSTRACT
Title : How Thai Oil palm farmers can compete sustainably in the world markets
Field : Economics
Name : Mrs.Chantip Vanich Course NDC Class 61
Approximately 90% of Thailand’s Oil palm farmers are considered small growers,
planting on average of no more than 50 Rai per family. Unlike Indonesia or Malaysia, which
each plantation company will have their plantation size of 100,000 Rai or more. Thailand has
only 3 to 4 relatively ‘big’ companies, planting in the vicinity of 30,000 to 40,000 Rai. Similar to
small growers of rubber, sugar cane, rice and tapioca; small growers of oil palm lacks agronomic
knowledge, economies of scale, sufficient funding for fertilizers, herbicides, insecticides and
premium growing materials. All these contribute to lower yields, sub-standard outputs and high
costs of production. Frequent bad weather and subprime growing area in Thailand compound to
already complicated problems for Thai farmers. Several forms of subsidy by government to farmers,
like Biodiesel uptake, low interest loans, switching of crops and direct payment to farmers are not
long term solution to Oil palm farmers.
Most recent problems to Thailand Oil palm industry are depressed global commodity
prices and Thailand’s high Crude Palm Oil (CPO) production costs, have made Thailand export
of CPO in global market uncompetitive. This cause the built up of local CPO inventory and
resulting in the lowest fruit prices in more than a decade. Government’s subsidy to alleviate
farmer hardship on an annual basis is becoming more of a rule than an exception. Such a problem
will only intensify as farmers are switching more and more from rubber estates to Oil palm
plantations; as Palms become more constant revenue crop. More excess Palm oil production in
Thailand is imminent over the next decades. As local consumption cannot keep up with rising
Palm oil production, biodiesel uptake and subsidies to farmers can only be temporary alternative
to Thai Oil palm growers.
To maintain sustainability of Thailand’s Oil palm industry, Thai farmers must be
able to produce palm fruits at the costs similar to the regional peers. Inadequacy of plantings and
plantation management, will also result in poor yields and higher cost of production. Higher fruit
prices to crushing mills will translate to higher CPO prices, for vegetable oil refineries and other ง
related industries in Thailand. This will make Thailand Oil palm and Palm oil industries less
competitive in the world market in the longer term.
The comparative study of plantation management models has indicated that the
most affective and effective one, is the model of large plantation company. Contributing pluses are large
land areas (economies of scale), professional executives and managers who have both knowledge
and experience in plantation management, constant investment in technology, research and
development, and people. They are able to keep up with global standards of large Oil palm companies.
Their palm oil prices are compatible to the regional peers.
In conclusion, in order for Thailand Oil palm industry to survive and thrive in the
long term, Thai small growers must form a strong alliance. They must follow the management models
and systems of large plantation corporations. This is to ensure that they will be able to compete
affective as well as effectively with peers in the global market.