เรื่อง: การเสริมสร้างตนทนุทางจิตวทิยาของเยาวชนไทย เพื่อเตรียมศักยภาพทรัพยากรมนุษย สู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัล, (วปอ.8640)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ผศ.นท. หญิง งามลมัย ผิวเหลือง, (วปอ.8640)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การเสริมสร างต นทุนทางจิตวิทยาของเยาวชนไทยเพื่อเตรียมศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษยสู ความเป#นพลเมืองดิจิทัล
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร
ผูวิจัย ผู ช วยศาสตราจารยนาวาอากาศโทหญิง ดร.งามลมัย ผิวเหลือง
หลักสูตร วปอ.รุนที่61
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงคคือ 1.เพื่อวิเคราะหป2จจัยด านสภาพแวดล อมภายใน
และสภาพแวดล อมภายนอกที่มีผลกระทบต อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยด านต นทุนทางจิตวิทยา
ของเยาวชนไทย 2. เพื่อศึกษาคุณลักษณะความฉลาดทางดิจิทัลของพลเมืองดิจิทัลเปรียบเทียบกับ
ประเทศที่มีศักยภาพใกล เคียง และมีความก าวล้ําทางเทคโนโลยี3. เพื่อวิเคราะหองคประกอบที่เหมาะสม
ของต นทุนทางจิตวิทยาสําหรับความเป#นพลเมืองดิจิทัลของเยาวชนไทยและ 4. เพื่อเสนอแนวทาง
ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยด านต นทุนทางจิตวิทยา เพื่อเตรียมศักยภาพเยาวชนไทยสู การเป#น
พลเมืองดิจิทัล
การศึกษาวิจัยวิจัยนี้เป#นการศึกษาวิจัยแบบผสม (Mix Methods) คือเป#นทั้งการ
ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ และการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเพื่อให ได ข อมูลยืนยันเชิงประจักษโดยการศึกษา
เชิงคุณภาพเป#นการศึกษาจากเอกสาร แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข องและเก็บข อมูลการแสดง
ความคิดเห็นจากผู เชี่ยวชาญผู ทรงคุณวุฒิด านจิตวิทยา ด านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และดิจิทัล
ผู บริหาร เพื่อสังเคราะหให ได ข อมูลป2ญหา และองคประกอบต นทุนทางจิตวิทยากับพลเมืองดิจิทัล
และข อเสนอแนะแนวทางการเสริมสร าง สําหรับการวิเคราะหเชิงปริมาณ เก็บข อมูลโดยใช แบบฟอรม
ออนไลนจาก Google form เพื่อวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันต นทุนทางจิตวิทยาของพลเมือง
ดิจิทัลที่ได จากการทบทวนเอกสาร และการแสดงความคิดเห็นจากผู เชี่ยวชาญ
ผลการวิจัยพบว าสภาพแวดล อมที่มีต อการเสริมสร างต นทุนทางจิตวิทยา ทั้งครอบครัว
ระบบการการศึกษาครูผู สอนชุมชนและคุณลักษณะส วนตนเองมีผลต อการเป#นพลเมืองดิจิทัล
เมื่อเทียบกับประเทศอื่น คนไทยใช เวลาต อวันอยู กับอินเทอรเน็ตมากที่สุดในโลก มีความเสี่ยงบนโลก
ไซเบอรอันดับ 19 ผลการวิเคราะหองคประกอบต นทุนจิตวิทยา 10องคประกอบสอดคล องกลมกลืนกับ
โครงสร างทฤษฎี ได แก 1. การมีความหวังมีพลังที่จะนําไปสู เปUาหมาย2. การพัฒนาตนเองตามศักยภาพที่มี
อยู 3. ความฉลาดทางอารมณ4. การมีมุมมองต อชีวิตและโลกในเชิงบวก5.ความคิดสร างสรรค 6.
ความรับผิดชอบต อตนเองและผู อื่น7.การติดต อสื่อสารและการสร างสัมพันธภาพ 8.จริยธรรมการใช งานอินเทอรเนต 9.ความรู ในการใช งานเทคโนโลยีดิจิทัลและ 10. ความสามารถในการวิเคราะหและ
ประเมิน
ข อเสนอแนะในการจัดระบบการศึกษาแบบองครวม จัดหลักสูตรที่เสนอแนวทาง
ให เรียนรู จริยธรรมดิจิทัล สิทธิบนดิจิทัล และความปลอดภัยบนดิจิทัลโดยทําความเข าใจร วมกับ
ผู ปกครอง สถาบันการศึกษา และชุมชน รวมทั้งบังคับใช กฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร
อย างเคร งครัด
abstract:
Abstract
Title : Psychological Capital Reinforcement of Thai Youth in order toPrepare
Human Resource Potential for Digital Citizenship
Field : Strategy
Name : Wing Commander Assistant Professor NgamlamaiPiolueang, Ph.D.
CourseNDC Class 61
This research aims to 1. analyze internal environment factors and external
environment factors having an impact on human resource development in Thai
youth’s psychological capital, 2. study digital intelligence quotient characteristics of
digitalcitizen comparing to similar- and advanced-technological countries, 3. Analyze
suitable components of the psychological capital for the digital citizenship of the Thai
youth, and 4. propose an approach for the human resource development
inthepsychological capital in order to prepare the Thai youth potential for the digital
citizenship.
This research is conducted by mixed methods, that is, the method combining
a qualitative method and a quantitative method in order to obtain empirical
confirmeddata. The qualitative method research is conducted for: studying literatures,
theoretical concepts, and related researches; and collecting data regarding opinions of
experts and knowledgeable person in psychology, computer technology, and digital
technology aswell as executives in order to synthesize problems and components of the
psychological capital for the digital citizenship and propose the reinforcement
approach.For the quantitative analysis, the data are collected by using an online
survey created by Google Forms in order to analysis confirmed components of the
psychological capital for the digital citizenship obtained from the literature review
and the expert opinions.
The research results show that: the environment factors having the
impact on reinforcement of the psychological capital include a family, an education
system, teachers, a community, and personal characteristics; as comparing to other
countries, Thais is the most daily internet usage in the world and ranked #19 on the global cyber risk ; and the analysis results of 10 components of the psychological capital
conform to the theoretical framework, that is, 1. hope, 2. self-efficacy,3. emotional
quotient and resilience, 4. optimism, 5. creativity, 6. responsibility,7. communication
and interrelationship, 8. digital ethic, 9. knowledge of digital, and 10. analytical and
evaluation skill.
This research suggests the holistic education system as follows: providing
a curriculum for learning digital ethic, digital right, and digital security; making mutual
understanding among parents, academic institutes, and communities; and strictly
enforcing computer crime law.