Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์การให้บริการสาธารสุขด้านอนามัยแม่และเด็กใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธีรพล โตพันธานนท์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง ยุทธศาสตร์การให้บริการสาธารณสุขดา้นอนามยัแม่และเด็กใน ๓ จงัหวดัชายแดนใต้ ลกัษณะวชิา ยุทธศาสตร์ ผ ู้วจิัย นายธีรพล โตพนัธานนท ์หลกัสูตร วปม. รุ่นทีÉ๗ งานอนามยัแม่และเด็กใน ๓ จงัหวดัชายแดนภาคใต้ยงัมีปัญหาความรุนแรงมากกวา่ ภาคอืÉนๆ โดยภาพรวมกล่าวไดว้า่ ยงัไม่ประสบความสาํ เร็จโดยเฉพาะความชดัเจนทางดา้นผลลพัธ์ ตํÉากวา่ เกณฑ/์เป้าหมายทีÉกาํหนด และสูงกวา่ เกณฑใ์น Millennium Development Goals (MDG) ของสหประชาชาติ การวิจยัครÊังนีÊมีวตัถุประสงคเ์พÉอืศึกษาปัญหาการใหบ้ ริการและการเขา้ถึง บริการด้านอนามยัแม่และเด็ก และกาํหนดยทุ ธศาสตร์การใหบ้ ริการดา้นอนามยัแม่และเด็กใน ๓ จงัหวดัชายแดนภาคใต้ โดยศึกษาประชากรในเขตจงัหวดัยะลา ปัตตานีและนราธิวาส กลุ่ม ตวัอยา่ ง ไดแ้ก่ ผบู้ริหารทÊงัในระดบั นโยบายและบุคลากรสาธารณสุขระดบั ปฏิบตัิ รวมทัÊง เครือข่ายทีÉเกีÉยวขอ้ง เช่น หญิงตÊงัครรภแ์ละครอบครัว ผูน้ าํศาสนา แกนนาํในชุมชน ผดุงครรภ์ โบราณ เครืÉองมือทีÉใชใ้นการศึกษาไดแ้ก่ แบบสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม ทÉีผวู้จิยัสร้างขÊึน ผลการวิจยัพบว่า สาเหตุหลกัของปัญหาการให้บริการและการเขา้ถึงบริการด้าน อนามยัแม่และเด็กใน ๓ จงัหวดชายแดนภาคใต้ ั มาจากหลายส่วนทัÊงในดา้นการจดับริการและ การเขา้ถึงบริการอนามยัแม่และเด็กไม่ได้ตามเกณฑ์เช่น การฝากครรภ์ครบ ๕ ครัÊงตามเกณฑ์ การรับวคั ซีนขÊนพื ั Êนฐาน ฯลฯ ผนวกกบั วฒั นธรรมและศาสนา วิถีชีวิตและภาษา การรับรู้และ ยอมรับปฏิบตัิตามในการดูแลสุขภาพของประชาชนยงัอยูใ่ นระดบั ตÉาํ ส่วนหนÉึงจากความเชืÉอตาม หลักศาสนา อุปสรรคการสืÉอสารจากภาษาทีÉใช้ต่างกัน ปัญหาสถานการณ์ความรุนแรงใน ๓ จงัหวดั ชายแดนภาคใต้การไม่จริงจงักบัการให้บริการสาธารณสุขของเจา้หน้าทีÉรัฐ และการ ขาดความร่วมมือจากชุมชนและครอบครัว(สามี) ต่อการมีส่วนร่วมรับรู้ รวมถึงจากปัญหาขาด แคลนบุคลากรทางการแพทย์อืÉนนอกเหนือจากพยาบาล และผูป้ ฏิบตัิงานอนามยัแม่และเด็ก หมุนเวยีนเปลีÉยนคนบ่อย ๓ ยุทธศาสตร์การให้บริการด้านอนามยัแม่และเด็กใน ๓ จงัหวดั ชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย ๑) ยุทธศาสตร์ด้านการจัดบริการ มุ่งเน้นบริการเชิงรุกเข้าหาประชาชน การปรับ ทางเลือกของบริการให้หลากหลายเขา้กบั บริบทด้านความเชÉือ และวิถีชีวิตของประชาชน จดับริการ อย่างทัÉวถึงและมีคุณภาพ ๒) ยุทธศาสตร์ด้านสร้างความเข้าใจและความร่วมมือของชุมชน ผูน้ ําท้องถิÉน ผู้นําศาสนา ๓) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างศักยภาพของประชาชน ด้านความรู้ ความเขา้ใจ ดา้นสุขภาพและการดูแลตนเอง

abstract:

Abstract Research Topics Maternal & Child Health Service Strategies Field Strategies Researcher Theerapol Topanthanont There are still severe problems of Maternal and Child Health Service (MCH) in Thailand's three southernmost provinces: Yala, Pattani and Narathiwat. From the overall perspective, it could be examined that it is incompletely achieved to the goal, and identified that the result from the study is rather under the expected criteria. However, it is still higher than the Millenium Development Goals (MDG) of the United Nations. The objectives of the paper are to study the problems of giving and gaining access to the MCH Service and to specify the MCH Service strategies in Thailand's three southernmost provinces: Yala, Pattani and Narathiwat. This data was collected from the people in Yala, Pattani, Naratiwat, selected from the policy administrators, Public Health practitioners and concerned networks such as pregnant women with their family, the religious leaders, community leaders and traditional midwives. Data collection tools were used for collecting relevant information, including interviews and group conversation that the researcher designed. The results of the research suggest the main causes of the MCH service problems and access to the service in Thailand's three southernmost provinces: Yala, Pattani and Narathiwat. The problems are resulting from a variety of factors i.e. service management and access to the MCH service which doesn’t meet the standards such as women having at least 5 antennal visits during pregnancy and immunization. Furthermore culture, religious, lifestyles, languages, perception and awareness of the value of preventive health care of the people in the area are under the standard. Moreover, the results also indicate that religious faith , language barriers, violent unrest in the area, lack of professional and determined MCH service officers, lack of other medical officers besides nurses, continuous change of MCH officers and little participation of most people in the area to value the preventive health care have been highly affecting to access and use of the MCH service. The 3 MCH service strategies in Thailand’s three southernmost provinces: Yala, Pattani and Naratiwat: 1. Service Management Strategy- It focuses on disseminating and adjusting various qualified service accessibility which is based on the people’s belief and their lifestyles. 2. Build-up of understanding and participating strategy among the people and both religion and community leaders 3. Development of people’s health literacy: the potentiality in awareness of the value of preventive health care and how to access to care.