เรื่อง: การพัฒนาข้าวอินทรีย์หอมมะลิ ๑๐๕ เชิงระบบ เพื่อความมั่นคงทางอาหาร ในพื้นที่จังหวดัสุรินทร์, (วปอ.8619)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางกรรณิการ์ จุไรวรรณสุทธิ, (วปอ.8619)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาข้าวอินทรีย์หอมมะลิ ๑๐๕เชิงระบบเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางสาว กรรณิการ์ จุไรวรรณสุทธิ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงทางอาหาร
ตลอดจนระบบสนับสนุนและกระบวนการผลิตข้าวอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ปัญหาและอุปสรรค
และแนวทางการปรับปรุงพัฒนา การวิจัยใช้แนวทางการวิจัยผสมผสานเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ
โดยรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการประกอบการผลิตข้าวหอมมะลิข้าวอินทรีย์ที่มีอยู่ในอดีต การสัมภาษณ์
แบบมีโครงสร้าง สนทนากลุ่ม การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยการเชื่อมโยงสู่ ทฤษฎีเชิงระบบ ท า
การเก็บข้อมูลจากบุคคลที่ปฏิบัติงานด้านผลิต แปรรูป จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ จากนั้นน าข้อมูลมา
วิเคราะห์ จ าแนก บรรยาย อธิบายถึงอดีต ปัจจุบัน อนาคต ส าหรับการพัฒนาระบบผลิต แปรรูป
จ าหน่ายข้าวหอมมะลิอินทรีย์ และผลลัพธ์ ที่เกิดจากการผลิตข้าวอินทรีย์ ผลการศึกษาพบว่า การ
ขับเคลื่อนพัฒนากระบวนการผลิตข้าวหอมมะลิ๑๐๕อินทรีย์ ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ เริ่มกลับมามีการ
เพิ่มจ านวนผู้ผลิตมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากแรงจูงใจ ส าคัญ ๒ ประการ ๑) แรงจูงใจทางด้านเศรษฐกิจ
โดยรัฐให้ค่าการสนับสนุนการผลิต ช่วยลดความเสี่ยง ในภาวะฝนแล้ง และหรือผลผลิตลดลง
เนื่องจากการผลิต ตามครรลอง แบบธรรมชาติ ที่ไม่ใช้สารเคมีเร่งการเจริญเติบโต แต่รัฐกลับจะได้
ประโยชน์ ส าคัญตอบแทน ในด้านสุขภาพของเกษตรกรผู้ผลิต และผู้บริโภคข้าวอินทรีย์ที่เป็นอาหาร
ปลอดภัย ๒) แรงจูงใจที่การผลิตข้าวส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม ลดก๊าซพิษฝุ่นละอองจากการเผาตอซัง ลด
สารเคมีตกค้างในดิน น้ า และบ ารุงดิน สิ่งแวดล้อมให้คืนสู่สภาพปกติ ความอุดมสมบูรณ์ และความ
หลากหลายทางชีวภาพกลับมาเพิ่มพูนเหมือนในอดีต แต่กระบวนการเปลี่ยนแปลงการผลิตข้าวจาก
การใช้สารเคมีมาสู่การผลิตแบบอินทรีย์ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ต้องออกแรง ออกความคิดปรับเปลี่ยน
ทัศนคติ วิธีการ ต้องใช้ ชุดความรู้ เทคโนโลยี ทรัพยากร และบุคลากร ทั้งผู้วางแผน และผู้ปฏิบัติให้
ไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งการขับเคลื่อนงานขนาดใหญ่นี้ จึงอาจมีปัญหาในบางกรณี บางโอกาส เพราะ
ความไม่พร้อม ที่เกิดจากตัวบุคคล วิธีการ และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระบวนการส่งเสริม สนับสนุน ผลิต
แปรรูปผลิตภัณฑ์ การสร้างมูลค่าเพิ่ม การตลาด ประชาสัมพันธ์ และห่วงโซ่อุปทานที่เกิดจากการ
ร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ เกษตรกร ธุรกิจเอกชน เป็นปัจจัยส าคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาฯ รัฐควร
หลีกเลี่ยงการใช้นโยบายแทรกแซงราคาตลาด แต่ควรใช้นโยบายสนับสนุนกระบวนการผลิตโดยใช้
ฐานข้อมูลเกษต รก ร พื้นที ่ปลูก ที ่แม ่นย า เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ความมั่นคงของ
ชุมชน และวิถีการผลิตข้าวมะลิอินทรีย์สามารถด าเนินได้ต่อไป
abstract:
Abstract
Title Organic Rice Hommali -105 Development System for Food Security in SURINProvince Area
Field Economics
Name Miss Kannika Juraiwansuthi Course NDC Class 61
Main objective of this research are: to study the Organic Rice Hommali105 development system for food security in SURIN province area ; to analyze the
situations, problems, obstacles and limitations which affect the development of an
Organic Rice Hommali-105; to present the means and measures in developing a
prototype of Organic Rice Hommali-105 development for food security in SURIN
province. This study is a combination of qualitative research and quantitative research
studying and gathering information of an Organic Rice Hommali-105 development in
the past. Additionally, experts and specialists who work in the supply-chain of an
Organic Rice Hommali-105 products has been called for; schedule interview, focus
group, non-participation interview, and linked to system approach theory.
The results show that currently, there is an increasing number of organic
rice farming in SURIN province area along with the two motivation factors: First,
government supporting on production factors, and Second, the motivation from an
environment rehabilitation. However, the process of changing to organic farming and
driving it into the right direction requires many resources such as knowledge,
technology, man and management resources. The whole process in the supply-chain
of Organic Rice Hommali-105 made from upstream to downstream with collaboration
of farmers, public sectors, and private sectors are the main factors for development of
an Organic Rice Hommali-105 to continuously success. Government itself should avoid
supporting by altering the market price, instead, it should considering the policy of
supporting the rice production process and factors with precisely used of information
on farmer and farming area in order to mitigate the risk. The solution to this study will
help strengthening quality of life of rice farmer, reduce the unbalancing of demand
and supply, preventing an over-supply of rice products, price depression, and reduce
an imported production factors. An Organic Rice Hommali-105 development with
organic fertilizer will also help sustainableagriculture and environmental rehabilitation
that lead to food security and community security in the long run.