เรื่อง: การบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับกฎหมายความมั่นคงของประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ชนิตา อึ๊งผาสุข
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง การบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรีเกียวกับกฎหมายความมั É Éนคงของประเทศ
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นางสาวชนิตา องËึผาสุข หลกัสูตร วปม. รุ่นท Éีş
รายงานการวิจัยนีÊมี วัตถุประสงค์ เพืÉอศึกษาปัญหาการบริหารราชการแผ่นดินของ
คณะรัฐมนตรีเกÉียวกับกฎหมายความมÉนคงของประเทศ และเพื ั Éอเสนอแนะแนวทางในการบังคับใช้
กฎหมายความมัÉนคง ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ความมัÉนคงของประเทศ
โดยศึกษาจากกฎหมายความมันคง É ของประเทศ ś ฉบบั ได้แก่ พระราชบญั ญัติกฎอยัการศึก พ.ศ. ŚŜŝş
พระราชกาํ หนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ŚŝŜŠ และพระราชบัญญัติการรักษา
ความมันÉ คงภายในราชอาณาจกัร พ.ศ. Śŝŝř รวมทัÊงศึกษาการบริหารราชการแผ่นดิน อาํนาจหน้าทีÉของ
คณะรัฐมนตรี ตลอดจนการบริ หารการประชุ มคณะรัฐมนตรี ซึÉงผู้วิจัยได้ศึกษาเปรี ยบเที ยบ
และวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ด้วยการค้นควา้และรวบรวมข้อมูลจากกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ
คาํสÉง มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนเอกสารที ั ÉเกีÉยวขอ้ง
ผลการศึกษา พบว่าหน่วยงานของรัฐหรือส่วนราชการเจ้าของเรืÉองทีÉเสนอเรืÉองเข้าสู่
การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย ขาดการวางแผน
การเสนอเรืÉองต่อคณะรัฐมนตรี การประกาศใช้กฎหมายความมันคงฯ É มีความไม่เหมาะสม ส่งผลให้
มติคณะรัฐมนตรีทีÉออกโดยฝ่ ายบริ หาร อาจขดั หรือแยง้ต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และยงัพบว่า
การใช้ดุลพินิจการบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี เกีÉยวกบักฎหมายความมนคงของประเทศ ัÉ
ส่วนหนÉึงเกิดจากความไม่ชดัเจนของกฎหมาย
นอกจากนีÊ พบว่ายงัคงมีปัญหาและอุปสรรคบางประการ ซÉึงหากไดร้ับการแก้ไขให้ดีขÊึน
จะส่งผลให้การบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี เกีÉยวกับกฎหมายความมนคงของประเทศ Éั
สามารถบรรลุวตัถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยÉิงขึÊน ได้แก่ การกําหนดให้ส่วนราชการ
เจา้ของเรืÉองทีÉตอ้งเสนอเรืÉองเขา้สู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีตอ้งยึดแนวทางปฏิบตัิให้เป็นไปตาม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรืÉองและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. ŚŝŜŠ และระเบียบว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธี การเสนอเรืÉองต่อคณะรัฐมนตรี พ.ศ. ŚŝŜŠ อย่างเคร่งครัด มีการวางแผน
การเสนอเรืÉอง ด้วยการจดั ทําคู่มือการปฏิบัติงานให้มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม การประกาศใช้
กฎหมายความมันคง É ควรมีการไตร่ตรองให้มีความรอบคอบก่อนทÉีจะมีมติคณะรัฐมนตรี และแก้ไข
ปรับปรุงกฎหมายความมันคงฯ É ให้เกิดความชัดเจน โดยอาจกาํ หนดให้มีองค์กรใดเข้ามาตรวจสอบ
การใชอ้าํนาจของฝ่ายบริหาร รวมทÊงัควรเปิดโอกาสใหฝ้่ายนิติบญั ญตัิเขา้มามีส่วนร่วมดว้ย
abstract:
ABSTRACT
Title State Running by the Cabinet with regards to National Security
Field Politics
Name Miss Chanita Oungpasuk Curse NDC (SPP) Class 61
This research aims to study the problem encountered by the cabinet in implementing
national security decrees and to propose a new guideline in enforcing such law in order to conform
to the national security situation of the country. This is done by examining three acts of law, namely
the Martial Law Act (1914), the Emergency Decree (2003) and the Internal Security Act (2006).
This research will also include the authoritative power of the cabinet as well as the managing of the cabinet
meeting; the data used will include decreed laws, regulations, cabinet resolutions and not limited
to other relevant materials.
The study finds that those responsible for submitting agendas for cabinet consideration do not do
it in accordance to normal practice and without careful planning. The enforcement of such law
lacks the appropriateness leading to conflict between the executive and the legislative branches. In addition,
the research shows that the discretion of the executive branch is called into question, simply because
the lack of understanding.
Moreover, research shows that some problems still persist, which if amended would
enable the cabinet’s implementation of national security acts to become much more effective.
Firstly, those responsible for proposing agendas to the cabinet should strictly adhere to the rules
laid out in the Royal Decree on Cabinet Submissions and Cabinet Meeting B.E. 2548 (2005) and
the Regulations on Criteria and Methods for Cabinet Submissions B.E. 2548(2005). It will also be
useful to establish manual clearly outlining procedures in declaring national security laws, as well
as allowing for thorough audit of the executive branch’s activities; and perhaps to include
participation from the legislative branch.