Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง เกศรา อัศดามงคล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางพัฒนาระบบหลกัประกนั สุขภาพแห่งชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงเกศรา อัศดามงคล หลักสูตรวปม รุ่นที่๗ การวิจัยเรื่องแนวทางพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย และเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนทุกกลุ่ม อย่างเสมอภาค เท่าเทียมและมีมาตรฐานขอบเขตของการวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษารูปแบบ โอกาส และอุปสรรคของระบบประกันสุ ขภาพของประเทศไทยหลังมีการประกาศใช้พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕โดยน าข้อดีของระบบประกันสุขภาพของประเทศ สิงคโปร์และญี่ปุ่ นมาประกอบเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์ขอ้มลู เชิงเน้ือหาผลการวิจัยพบว่าประเทศไทยมีระบบ ประกันสุขภาพสามกองทุนหลักได้แก่ ๑. กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการบริหารโดย กรมบัญชีกลาง สังกัดกระทรวงการคลัง๒. กองทุนประกันสังคมบริ หารโดยส านักงาน ประกันสังคม (สปส.) สังกัดกระทรวงแรงงาน และ ๓. กองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บ ริ ห า ร โ ด ยส านั ก งา น ห ลัก ป ร ะ กัน สุ ข ภ า พ แ ห่ ง ช า ติ(ส ป ส ช. ) สัง กัด ก ร ะ ท ร ว ง สาธารณสุข เนื่องจากท้งัสามกองทุนดงักล่าวอยภู่ ายใตค้วามรับผิดชอบของหน่วยงานที่ต่างกนั การบริหารจัดการจึงมีลักษณะแยกส่วนเป็ นเอกเทศมีต้นทุนสูงที่เกินควรและสิทธิประโยชน์แต่ ละกองทุนแตกต่างกนั ส่งผลใหเ้กิดความเหลื่อมล้า ของสิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลจึงมี ข้อเสนอแนะให้ทุกกองทุนบริหารโดยหน่วยงานเดียวกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการลดความเหลื่อมล้า ในการเข้าถึงบริการข้อเสนอแนะเพิ่มเติมอื่นๆ ได้แก่ จัดให้มีการ เตรียมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในด้านการดูแลสุขภาพ และส่งเสริมให้มีการบริหารความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนและองค์กรอื่นๆ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในอนาคต ได้แก่ การ พัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพให้สอดประสานกันการพัฒนาหน่วยงานดูแลการก าหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศและการพัฒนาให้เป็ นหน่วยงานอิสระ

abstract:

7 ABSTRACT Title Development guideline for national healthcare of Thailand Field Social-Psychology Name Associated Professor Kesara Assadamongkol Course NDC (SPP) Class 7 The objective of research is to study and propose guideline for improvement of national healthcare scheme of Thailand in response to equal access and quality healthcare standard for all. The scope of this research is to study the configuration, opportunity and obstacles of the existing system after the launch of National Health Security Act, BE 2545. Advantages of Singapore and Japan national healthcare systems are considered as guidelines for the development. It is a qualitative research as well as content analysis. Outcome of the research finds a diversity of Thai healthcare funds. There are three main funds under 3 different organizations, namely: 1. Civil Servant Medical Benefit Scheme Fund, is under supervision of the Comptroller General's Department, Ministry of Finance, 2. Social Security Fund, is under supervision of the Social Security Office, Ministry of Labor, and 3. The Universal Coverage fund, is under supervision of the Office of Health Insurance fund, Ministry of Public Health. Each individual organization manages the fund independently thereby creates in high cost of management, inequities packages and inequities health service for patients. To enhance management efficiency and mitigate discrepancy in access to the service, the suggestion is to reorganize the structure of health insurance, merging these three schemes under the supervision of the same ministries. The other suggestions are preparing the medical care for aging society, encouraging the co-operation of healthcare between the public sectors, the private sector and the other organizations. Future policy proposal consists of development of governance network to be harmonizable with organization in charge of healthcare policy and strategy of Thailand and so to become an independent entity.